Sonntag, 21. Dezember 2014

อภิธานปฺปทีปิกา ๒. ภูกณฺฑ


๒.๑. ภูมิวคฺค
๑๘๐.
วคฺคา ภูมิ, ปุรี, มจฺจ, จตุพฺพณฺณ, วนาทิหิ;
ปาตาเลน จ วุจฺจนฺเต, สงฺโค’ปงฺเคหิ’ธ’กฺกมาฯ
๑๘๑.
วสุนฺธรา ฉมา ภูมิ, ปถวี เมทนี มหี;
อุพฺพี วสุมตี โค กุ, วสุธา ธรณี ธรา;
ปุถวี ชคตี ภูรี, ภู จ ภูตธรา’ วนีฯ
๑๘๒.
ขารา ตุ มตฺติกา อูโส, อูสวา ตูสโร ติสุฯ
ถลํ ถลีตฺถี ภูภาเค, ถทฺธลูขมฺหิ ชงฺคโล
๑๘๓.
ปุพฺพวิเทโห จาปร, โคยานํ ชมฺพุทีโป จ;
อุตฺตรกุรุ เจติ สิยุํ, จตฺตาโรเม มหาทีปา

Mittwoch, 17. Dezember 2014

สทฺทนีติปฺปกรณํ (ธาตุมาลา) ๑๕. สรวคฺคปญฺจกนฺติก สุทฺธสฺสรธาตุ

ฯ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺสฯ

สทฺทนีติปฺปกรณํ

ธาตุมาลา


๑๕. สรวคฺคปญฺจกนฺติก สุทฺธสฺสรธาตุ


อิโต ปรํ ตุ สรโต, กการนฺตาทิเภทโต;

ธาตุโย ธาตุนิปฺผนฺน-รูปานิ วิวิธานิ จฯ

สาฎฺฐกเถ ปิฎกมฺหิ, ชินปาเฐ ยถาพลํ;

นยํ อุปปริกฺขิตฺวา, สมาเสน กเถสฺส’หํฯ

อิ คติยํฯ เยสํ ธาตูนํ คติอตฺโถ, พุทฺธิปิ เตสํ อตฺโถฯ ปวตฺติปาปุณานิปิฯ ตตฺร คมนํ ทุวิธํ กายคมนํ ญาณคมนญฺจฯ เตสุ กายคมนํ นาม อิริยาปถคมนํ, ญาณคมนํ นาม ญาณุปฺปตฺติ, ตสฺมา ปโยคานุรูเปน ‘‘คจฺฉตี’’ติ ปทสฺส ‘‘ชานาตี’’ติปิ อตฺโถ ภวติ, ‘‘ปวตฺตตี’’ติปิ อตฺโถ ภวติ, ‘‘ปาปุณาตี’’ติปิ อตฺโถ ภวติ, อิริยาปถคมเนน คจฺฉตีติปิ อตฺโถ ภวติ, ญาณคมเนน คจฺฉตีติปิ อตฺโถ ภวติฯ ตถา หิ ‘‘สีฆํ คจฺฉตี’’ติอาทีสุ อิริยาปถคมนํ ‘‘คมน’’นฺติ วุจฺจติฯ สุนฺทรํ นิพฺพานํ คโตฯ ‘‘คติมา’’ติอาทีสุ ปน ญาณคมนํฯ เอวํ สพฺเพสมฺปิ คตฺยตฺถานํ ธาตูนํ ยถาปโยคํ อตฺโถ คเหตพฺโพฯ

ตสฺสิมานิ รูปานิ ภวนฺติ – อิติ, เอติ, อุเทติฯ การิเต ‘‘อุทายตี’’ติ รูปํ ภวติฯ อุฎฺฐาเปตีติ หิ อตฺโถ, ทุกาโร อาคโมฯ อุเปติ, สมุเปติ, เวติ, อเปติ, อเวติ, อนฺเวติ, สเมติ, อภิสเมติ, สมโย, อภิสมโย, อีทิ, อุทิ, เอโกทิ, ปณฺฑิโต, อิโต, อุทิโต, อุเปโต, สมุเปโต, อนฺวิโต, อเปโต, สเมโต, เอตพฺโพ, ปจฺเจตพฺโพ, ปฎิยมาโน, ปฎิจฺโจ, เอนฺโต, อธิปฺเปโต, อธิปฺปาโย, ปจฺจโย, อญฺญานิปิ โยเชตพฺพานิฯ ‘‘อิตา, อิต’’นฺติอาทินา ยถารหํ อิตฺถินปุํสกวเสนปิฯ ปจฺเจตุํ, อุเปตุํ, สมุเปตุํ, อนฺเวตุํ, สเมตุํ, อภิสเมตุํ, อิจฺจ, ปฎิจฺจ, สเมจฺจ, อภิสเมจฺจ, อเปจฺจ, อุเปจฺจ, ปฎิมุขํ อิตฺวา, อิตฺวาน, อุเปตฺวา, อุเปตฺวาน, อุเปตุน, อญฺญานิปิ พุทฺธวจนานุรูปโต โยเชตพฺพานิฯ

Dienstag, 16. Dezember 2014

ฝึกแปลธรรมบท ชุดที่ ๒ (อัตตวรรควัณณนา)

   
(ท่านสามารถเลือกรายการที่ต้องการฟัง โดยคลิกที่หน้าต่าง MP3 ด้านล่าง)

๑๒. อตฺตวคฺโค

. โพธิราชกุมารวตฺถุ
อตฺตานญฺเจติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เภสกฬาวเน วิหรนฺโต โพธิราชกุมารํ อารพฺภ กเถสิฯ
โส กิร ปถวีตเล อญฺเญหิ ปาสาเทหิ อสทิสรูปํ อากาเส อุปฺปตมานํ วิย โกกนุทํ นาม ปาสาทํ กาเรตฺวา วฑฺฒกิํ ปุจฺฉิ – ‘‘กิํ ตยา อญฺญตฺถาปิ เอวรูโป ปาสาโท กตปุพฺโพ, อุทาหุ ปฐมสิปฺปเมว เต อิท’’นฺติฯ ‘‘ปฐม

สิปฺปเมว, เทวา’’ติ จ วุตฺเต จินฺเตสิ – ‘‘สเจ อยํ อญฺญสฺสปิ เอวรูปํ ปาสาทํ กริสฺสติ, อยํ ปาสาโท อนจฺฉริโย ภวิสฺสติฯ อิมํ มยา มาเรตุํ วา หตฺถปาเท วาสฺส ฉินฺทิตุํ อกฺขีนิ วา อุปฺปาเฎตุํ วฎฺฎติ, เอวํ อญฺญสฺส ปาสาทํ น กริสฺสตี’’ติฯ โส ตมตฺถํ อตฺตโน ปิยสหายกสฺส สญฺชีวกปุตฺตสฺส นาม มาณวกสฺส กเถสิฯ โส จินฺเตสิ – ‘‘นิสฺสํสยํ เอส วฑฺฒกิํ นาเสสฺสติ, อนคฺโฆ สิปฺปี, โส มยิ ปสฺสนฺเต มา นสฺสตุ,

Donnerstag, 11. Dezember 2014

อภิธานปฺปทีปิกา ๑. สคฺคกณฺฑ

พุทฺธปฺปณาโม
ธมฺมปฺปณาโม
สงฺฆปฺปณาโม
ปฏิญฺญา
ปริภาสา
๑. สคฺคกณฺฑ
๑.๑. พุทฺธาทิวคฺค
๑.๒. สคฺคาทิวคฺค
๑.๓. ทิสาทิวคฺค
๑.๔. กุสลาทิวคฺค
๑.๕. จิตฺตาทิวคฺค
๒. ภูกณฺฑ

Sonntag, 12. Oktober 2014

ฝึกแปลธรรมบท ชุดที่ ๑ (ปาปวรรควัณณนา, ชราวรรควัณณนา)

  
(ท่านสามารถเลือกรายการที่ต้องการฟังได้ โดยคลิกที่หน้าต้าง MP3 ด้านล่าง)



. ปาปวโคฺค

. จูเฬกสาฎกพฺราหฺมณวตฺถุ

อภิตฺถเรถ กลฺยาเณติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต จูเฬกสาฎกพฺราหฺมณํ อารพฺภ กเถสิฯ
วิปสฺสิทสพลสฺส กาลสฺมิญฺหิ มหาเอกสาฎกพฺราหฺมโณ นาม อโหสิ, อยํ ปน เอตรหิ สาวตฺถิยํ จูเฬกสาฎโก นามฯ 

Samstag, 11. Oktober 2014

บาฬีไวยากรณ์เบื้องต้น ชุดที่ ๓


บาฬีไวยากรณ์เบื้องต้น (ชุดที่ ๓) สำหรับนักศึกษาใหม่และผู้สนใจทั่วไป
บรรยายโดย พระอาจารย์มหาสมปอง มุทิโต คณะ ๒๕ วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร
# ขอบคุณเว็บไซต์ที่มาข้อมูล #   http://www.thepathofpurity.com/


 บทที่ ๑๒

สมาส

 
    สมาส คือการย่อนามศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไป เข้าเป็นบทเดียวกัน วิเคราะห์ว่า "สมสฺสเต สงฺขิปียเตติ สมาโส การย่อหรือบทที่ถูกย่อ ชื่อว่าสมาสว่าโดยวิธีทำมี ๒ อย่าง คือ
 
. ลุตฺตสมาส  สมาสที่ลบวิภัตติของศัพท์หน้า
                       เช่น กฐินสฺส ทุสฺสํ กฐินทุสฺสํ
                              ผ้าเพื่อกฐิน ชื่อว่า กฐินทุสฺเส
. อลุตฺตสมาส  สมาสที่ไม่ลบวิภัตติของศัพท์หน้า
                         เช่น ปรสฺส ปทํ ปรสฺสปทํ
                                บทเพื่อผู้อื่น ชื่อว่า ปรสฺสปท
 
 
    ลักษณะของสมาส ๓ อย่าง
 
. ประกอบเข้าเป็นบทเดียวกัน
. สวดให้เป็นบทเดียวกัน (ไม่เว้นวรรคกลางสมาส)
. มีวิภัตติตัวเดียวกัน

Freitag, 10. Oktober 2014

บาฬีไวยากรณ์เบื้องต้น ชุดที่ ๒


บาฬีไวยากรณ์เบื้องต้น (ชุดที่ ๒) สำหรับนักศึกษาใหม่และผู้สนใจทั่วไป
บรรยายโดย พระอาจารย์มหาสมปอง มุทิโต คณะ ๒๕ วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร
# ขอบคุณเว็บไซต์ที่มาข้อมูล  http://www.thepathofpurity.com/



สัพพนาม

 
    การจำแนกปุริสสัพพนาม และวิเสสนสัพพนาม มีรูปต่างกันในลิงค์ทั้ง ๓ ส่วน ตุมฺห และ อมฺห ศัพท์ มีรูปเหมือนกันทั้ง ๓ ลิงค์ ดังต่อไปนี้
 
            ปุริสสัพนาม
 
    () ปุงลิงค์ อการันต์ ตสัททปทมาลา (เขา, นั้น)
 
วิภัตติ             
เอกวจนะ             
พหุวจนะ                 
ปฐมา
โส
เน เต
ทุติยา
นํ ตํ
เน เต
ตติยา
เนน เตน
เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ
จตุตถี
อสฺส นสฺส ตสฺส
เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ   
ปัญจมี
อสฺมา นมฺหา นสฺมา
ตมฺหา ตสฺมา    
เนหิ เนภิ เตหิ เตภิ
ฉัฏฐี
อสฺส นสฺส ตสฺส
เนสํ เนสานํ เตสํ เตสานํ
สัตตมี
อสฺมึ นมฺหิ นสฺมึ
ตมฺหิ ตสฺมึ
เนสุ เตสุ
 
 

บาฬีไวยากรณ์เบื้องต้น ชุดที่ ๑


บาฬีไวยากรณ์เบื้องต้น (ชุดที่ ๑) สำหรับนักศึกษาใหม่และผู้สนใจทั่วไป
บรรยายโดย พระอาจารย์มหาสมปอง มุทิโต คณะ ๒๕ วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร
# ขอบคุณเว็บไซต์ที่มาข้อมูล #  http://www.thepathofpurity.com/

    
บทนำ
ปาลิภาษา ภาษาบาลี
       ปาลิ แปลว่า รักษาไว้, ภาสา แปลว่า ภาษาหรือถ้อยคำสำเนียง (ศัพท์และเสียง) เมื่อรวม ๒ บทเข้าด้วยกันเป็น ปาลิภาสา จึงแปลว่า ภาษาที่รักษาไว้

        รักษาอะไรไว้?

        รักษาพระพุทธพจน์คือพระไตรปิฎกไว้ ไม่ให้เสื่อมสลายไปดังมีวิเคราะห์ศัพท์ว่า

        ติปิฏกํ พุทฺธวจนํ ปาเลตีติ ปาลิ (ปาฬิ).

        ภาษาที่รักษาไว้ซึ่งพระพุทธพจน์คือพระไตรปิฎก ชื่อว่า ปาลิ