Samstag, 19. Oktober 2019

ปัญหาและเฉลย(วิชาพุทธประวัติ) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี 2546


ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง พ.. ๒๕๔๖
.............

คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาท (x) ลงในช่อง ของข้อที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
....................

. ประเทศใด ไม่ได้อยู่ในดินแดนชมพูทวีป ?
. เนปาล . ศรีลังกา
. อินเดีย . ปากีสถาน

. ชนเผ่าใด เป็นชาวพื้นเมืองในชมพูทวีป ?
. มิลักขะ . อริยกะ
. อารยัน . อินเดียแดง

. ชนเหล่าใดในสังคมอินเดีย ถูกเหยียดหยามมากที่สุด ?

. พราหมณ์ . แพศย์
. ศูทร . จัณฑาล

. พระราชบิดาของเจ้าชายสิทธัตถะ มีพระนามว่าอะไร ?
. พระเจ้าสีหหนุ . พระเจ้าสุกโกทนะ
. พระเจ้าสุทโธทนะ . พระเจ้าสุปปพุทธะ

. คำว่า สิทธัตถะ มีความหมายว่าอย่างไร ?
. ผู้มีโภคะ . ผู้มีความต้องการสำเร็จ
. ผู้มีความรู้ . ผู้มีความประพฤติดี

. หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ วัน มีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้น ?
. ขนานพระนาม . พระมารดาสิ้นพระชนม์
. อสิตดาบสมาเยี่ยม . ทำนายพระลักษณะ

. ดาบสที่ทำนายลักษณะของเจ้าชายสิทธัตถะเป็น อย่างชื่อว่าอะไร ?
. อสิตดาบส . อาฬารดาบส
. อุทกดาบส . กบิลดาบส

. ข้อใด ไม่ใช่เทวทูต ที่เจ้าชายสิทธัตถะทอดพระเนตรเห็น ?
. คนเกิด . คนแก่
. คนเจ็บ . คนตาย

. เจ้าชายสิทธัตถะทรงอธิษฐานเพศเป็นบรรพชิตที่ใด ?
. ริ่มฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา . ริ่มฝั่งแม่น้ำคงคา
. ริ่มฝั่งแม่น้ำยมุนา . ริ่มฝั่งแม่น้ำอโนมา

๑๐. ใครเป็นผู้ถวายเครื่องบริขารแด่เจ้าชายสิทธัตถะ ?
. สหัมบดีพรหม . พระอินทร์
. ฆฏิการพรหม . นายฉันนะ

๑๑. พระมหาบุรุษทรงเลิกบำเพ็ญทุกรกิริยา เพราะเหตุใด ?
. ทรงท้อพระทัย . ทรงเบื่อหน่าย
. ทรงคลายความเพียร . ทรงเห็นว่าไม่ใช่ทางตรัสรู้

๑๒. การที่ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา จัดเข้าในข้อใด ?
. กามสุขัลลิกานุโยค . อัตตกิลมถานุโยค
. มัชฌิมาปฏิปทา . เนกขัมมปฏิปทา


๑๓. ขณะประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขที่รัตนฆรเจดีย์ พระพุทธองค์ทรงพิจารณาอะไร ?
. พระสูตร . พระอภิธรรม
. พระวินัย . ปฏิจจสมุปบาท

๑๔. พระพุทธเจ้าตรัสรู้ ในวันอะไร ?
. วันเพ็ญเดือน . วันเพ็ญเดือน
. วันเพ็ญเดือน . วันเพ็ญเดือน ๑๒

๑๕. รุ่งเช้าของวันตรัสรู้ ใครถวายพระกระยาหารแด่พระพุทธเจ้า ?
. นางวิสาขา . อนาถบิณฑิกเศรษฐี
. นางสุชาดา . ปัญจวัคคีย์

๑๖. บุคคลที่เข้าถึงรัตนะ เป็นคู่แรก คือใคร ?
. นางวิสาขา - อนาถบิณฑิกเศรษฐี
. พระเจ้าพิมพิสาร - พระเจ้าปเสนทิโกศล
. ตปุสสะ - ภัลลิกะ
. มารดาและบิดาของพระยสะ

๑๗. บุคคลประเภท ปทปรมะ คือบุคคลประเภทใด ?
. มีปัญญาเฉียบแหลม . มีปัญญาระดับปานกลาง
. มีปัญญาพอแนะนำได้ . ด้อยปัญญา

๑๘. เมื่อพระพุทธองค์ตัดสินพระทัยที่จะแสดงธรรมแล้ว ทรงคิดถึงใครเป็นคนแรก ?
. กาฬเทวิลดาบส . กบิลดาบส
. ปัญจวัคคีย์ . อาฬารดาบสและอุทกดาบส

๑๙. หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าเสวยวิมุตติสุขกี่วัน ?
. ๒๙ วัน . ๓๙ วัน
. ๔๙ วัน . ๕๙ วัน

๒๐. หลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าทรงจำพรรษาแรกที่ใด ?
. ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน . วัดเวฬุวัน
. วัดเชตวัน . ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม

๒๑. พระโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมด้วยพระธรรมเทศนาใด ?
. อริยสัจ . ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
. อาทิตตปริยายสูตร . อนัตตลักขณสูตร

๒๒. ในชฎิล พี่น้อง คนที่ มีชื่อว่าอะไร ?
. อุรุเวลกัสสปะ . คยากัสสปะ
. นทีกัสสปะ . กุมารกัสสปะ

๒๓. พระพุทธเจ้าทรงได้ยินเสียงอุทานของยสกุลบุตรในเวลาใด ?
. เที่ยงคืน . จวนใกล้รุ่ง
. ขณะบิณฑบาต . กำลังเสวยพระกระยาหาร

๒๔. ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอุบาสิกาคนแรกในพระพุทธศาสนา คือใคร ?
. นางวิสาขา . พระนางมัลลิกา
. มารดาของพระยสะ . พระนางพิมพา

๒๕. ขณะประทับอยู่ที่ต้นพหุปุตตนิโครธ พระพุทธองค์ทรงประทานโอวาท ข้อแก่ใคร ?
. ปิปผลิมาณพ . อุปติสสมาณพ
. โกลิตมาณพ . อชิตมาณพ

๒๖. พระพุทธองค์ทรงส่งพระสาวกไปประกาศศาสนาครั้งแรกกี่องค์ ?
. ๕๐ องค์ . ๖๐ องค์
. ๗๐ องค์ . ,๒๕๐ องค์

๒๗. วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ชื่อว่าอะไร ?
. เวฬุวัน . เชตวัน
. ลัฏฐิวัน . อัมพวัน

๒๘. ใครเป็นผู้ถวายวัดแห่งแรก ในพระพุทธศาสนา ?
. พระเจ้าพิมพิสาร . พระเจ้าเชตุ
. อนาถบิณฑิกเศรษฐี . นางวิสาขา

๒๙. อุบายสำหรับแก้ความง่วง พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ใคร ?
. พระสารีบุตร . พระอานนท์
. พระมหากัสสปะ . พระโมคคัลลานะ

๓๐. พระสารีบุตรสำเร็จเป็นพระอรหันต์ หลังจากอุปสมบทแล้วกี่วัน ?
. วัน . ๑๒ วัน
. ๑๕ วัน . ๒๐ วัน

๓๑. พระสารีบุตรสำเร็จเป็นพระอรหันต์ด้วยพระธรรมเทศนาใด ?
. อริยสัจ . อนุปุพพีกถา
. อริยธรรม . เวทนาปริคคหสูตร

๓๒. ภรรยาของปิปผลิมาณพมีนามว่าอย่างไร ?
. ยโสธรา . ปชาบดี
. กีสาโคตมี . ภัททกาปิลานี

๓๓. ใครเป็นผู้ถวายปิณฑบาตครั้งสุดท้าย แด่พระพุทธเจ้า ?
. วิสาขามหาอุบาสิกา . อนาถบิณฑิกเศรษฐี
. นางสุชาดา . นายจุนทะ

๓๔. พระพุทธเจ้าทรงปลงอายุสังขารที่หมู่บ้านอะไร ?
. เวฬุวคาม . กัลลวาลมุตตคาม
. ภัณฑุคาม . นาลันทา

๓๕. ในคราวเสด็จปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงมีพระชนมายุเท่าไร ?
. ๖๐ ปี . ๗๐ ปี
. ๘๐ ปี . ๙๐ ปี

๓๖. ปัจฉิมโอวาท พระพุทธเจ้าทรงแสดงเกี่ยวกับอะไร ?
. ความไม่ประมาท . ความเพียร
. ความทุกข์ . ความสามัคคี

๓๗. ใครเป็นพระสาวกองค์สุดท้าย ?
. อุปกาชีวก . โกลิตปริพาชก
. สุภัททวุฑฒบรรพชิต . สุภัททปริพาชก

๓๘. สถานที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ คือที่ใด ?
. บริโภคเจดีย์ . มกุฏพันธนเจดีย์
. ธรรมเจดีย์ . อุทเทสิกเจดีย์

๓๙. ใครเป็นผู้แบ่งพระบรมสารีริกธาตุ ?
. พระอานนท์ . พระมหากัสสปะ
. โทณพราหมณ์ . วัสสการพราหมณ์

๔๐. ก่อนเสด็จปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงตั้งใครเป็นศาสดา ?
. พระอานนท์ . พระมหากัสสปะ
. พระไตรปิฎก . พระธรรมวินัย

๔๑. แบบแผนที่พึงปฏิบัติในทางศาสนา เรียกว่าอะไร ?
. ศาสนพิธี . กุศลพิธี
. ทานพิธี . บุญพิธี

๔๒. บุญกิริยาวัตถุ คือข้อใด ?
. ศีล สมาธิ ปัญญา . ทาน ศีล ภาวนา
. ทาน ศีล สมาธิ . ทาน ศีล ปัญญา

๔๓. ผู้รับนับถือพระพุทธเจ้าเป็นของตน เป็นความหมายของข้อใด ?
. อุบาสิกา . อุบาสก
. พุทธมามกะ . สาวก

๔๔. การกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ หมายถึงการกราบเช่นไร ?
. กราบครบองค์ . กราบ ครั้ง
. กราบ ครั้ง . ข้อ . ข้อ . ถูก


๔๕. ข้อใด ตรงกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ?
. วันวิสาขบูชา . วันอัฏฐมีบูชา
. วันอาสาฬหบูชา . วันมาฆบูชา

๔๖. คำว่า มยํ ภนฺเต วิสุ วิสุ รกฺขณตฺถาย...” เป็นคำอะไร ?
. คำอาราธนาพระปริตร . คำอาราธนาธรรม
. คำอาราธนาศีล . คำอาราธนาพระสงฆ์

๔๗. ข้อใด จัดเป็นงานอวมงคล ?
. นายพานพบทำบุญอุทิศให้นางแสนเสน่ห์ . นางชวนชมทำบุญอายุครบ ๖๐ ปี
. กำนันช้างทำบุญขึ้นบ้านใหม่ . ผู้ใหญ่ลีทำบุญครบรอบวันแต่งงาน

๔๘. ข้อใด เป็นคำกรวดน้ำแบบย่อ ?
. สพฺเพ สตฺตา อเวรา โหนฺตุ
. อิทํ เม าตีนํ โหตุ สุขิตา โหนฺตุ าตโย
. ยถา วาริวหา ปูรา ปริปูเรนฺติ สาครํ
. อิมินา ปุญฺกมฺเมน อุปชฺฌายา คุณุตฺตรา


๔๙. การทอดกฐินกำหนดให้ทำในช่วงเวลาใด ?
. ก่อนเข้าพรรษา เดือน . หลังเข้าพรรษา เดือน
. ก่อนออกพรรษา เดือน . หลังออกพรรษา เดือน

๕๐. ข้อใด เป็นวิธีประเคนของพระที่ถูกต้อง ?
. พระสิงห์รับถาดอาหารจากมือโยมแม่
. เด็กหญิงอ้อยกับเพื่อนช่วยกันยกโต๊ะอาหารถวายพระ
. เด็กชายนิดถวายอาหารในเวลาบ่าย
. นางสาวจินวางปิ่นโตอาหารลงบนผ้ากราบของพระกริสนัย








ผู้ออกข้อสอบ
:
. พระเทพโสภณ
วัดประยุรวงศาวาส


. พระศรีวิสุทธิเวที
วัดตากฟ้า


. พระศรีวิสุทธิคุณ
วัดศาลาลอย
ตรวจ/ปรับปรุง
:
สนามหลวงแผนกธรรม






Keine Kommentare: