ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม
ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ที่
๑๗
พฤศจิกายน
พ.ศ.
๒๕๔๖
*********
คำสั่ง
:
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาท
(x)
ลงในช่อง
ของข้อที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา
๕๐
นาที
(๑๐๐
คะแนน)
๑.
กัมมัฏฐานข้อใด
เกี่ยวกับปัญญา
?
ก.
สมถกัมมัฏฐาน ข.
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
ค.
อสุภกัมมัฏฐาน ง.
อนุสสติกัมมัฏฐาน
๒.
เพื่อให้เกิดสมาธิในการเรียน
ควรปฏิบัติตามหลักธรรมใด
?
ก.
ปัญญา ข.
วิจารณญาณ
ค.
สมถะ ง.
วิปัสสนา
๓.
ผู้ที่ชอบเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์
ชื่อว่าหลงยึดติดในอะไร
?
ก.
กิเลสกาม ข.
วัตถุกาม
ค.
กามตัณหา ง.
ภวตัณหา
๔.
พระพุทธเจ้าทรงยกย่องการบูชาแบบใด
ว่าเป็นเลิศ
?
ก.
อามิสบูชา ข.
ปฏิบัติบูชา
ค.
สักการบูชา ง.
พุทธบูชา
๕.
การกล่าวต้อนรับด้วยคำไพเราะ
ชื่อว่าปฏิบัติตามหลักธรรมใด
?
ก.
อามิสบูชา ข.
ปฏิบัติบูชา
ค.
อามิสปฏิสันถาร ง.
ธัมมปฏิสันถาร
๖.
การกำหนดลมหายใจเข้าออก
พร้อมกับบริกรรมว่า
“
พุทโธ
”
จัดเป็นกรรมฐานใด
?
ก.
อานาปานสติ ข.
พุทธานุสสติ
ค.
กายคตาสติ ง.
ข้อ
ก.
ข้อ
ข.
ถูก
๗.
ผู้ประกอบด้วยวิหิงสาวิตก
มักมีพฤติกรรมเช่นไร
?
ก.
เที่ยวอาบอบนวด ข.
เล่นเกมส์คอมพิวเตอร์
ค.
ชวนเพื่อนหนีเรียน ง.
รังแกคนอื่น
๘.
ผู้ประกอบด้วยอพยาบาทวิตก
มักมีพฤติกรรมเช่นไร
?
ก.
หวังดีต่อเพื่อน ข.
ให้เพื่อนลอกการบ้าน
ค.
ชวนเพื่อนไปวัด ง.
หนีเรียนไปเฝ้าไข้นักร้องดัง
๙.
ไฟเผาใจมนุษย์
๓
อย่าง
มีอะไรบ้าง
?
ก.
ราคะ
ตัณหา
อิจฉา
ข.
ราคะ
อิจฉา
โทสะ
ค.
ราคะ
โทสะ
โมหะ
ง.
ตัณหา
อิจฉา
โทสะ
๑๐.
ทำบุญเพราะอยากให้คนสรรเสริญ
จัดเข้าในข้อใด
?
ก.
โลกาธิปไตย ข.
ธัมมาธิปไตย
ค.
อัตตาธิปไตย ง.
ประชาธิปไตย
๑๑.
ข้อใดเป็นความหมายของ
“
ญาณ
”
?
ก.
สมาธิชั้นสูง ข.
ปัญญาหยั่งรู้
ค.
อิทธิฤทธิ์ ง.
การบรรลุธรรม
๑๒.
ฆ่าตัวตายเพราะอกหัก
จัดเป็นคนมีตัณหาประเภทใด
?
ก.
กามตัณหา ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา ง.
ราคะตัณหา
๑๓.
ความอยากเป็นนั่น
อยากเป็นนี่
เรียกว่าอะไร
?
ก.
กามตัณหา ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา ง.
กิเลสตัณหา
๑๔.
ข้อใด
ทำให้พระองค์เป็นพระพุทธเจ้าอย่างสมบูรณ์
?
ก.
โลกัตถจริยา
ข.
พุทธัตถจริยา
ค.
ญาตัตถจริยา
ง.
อัตถจริยา
๑๕.
ข้อใด
กล่าวความหมายของวัฏฏะได้ถูกต้องที่สุด
?
ก.
ได้รับวิบากเพราะกิเลสเกิดขึ้น ข.
กิเลสเกิดขึ้นแล้วให้ทำกรรม
ค.
ทำกรรมแล้วกิเลสจึงเกิด ง.
กิเลสเกิดจึงมีวิบากตามมา
๑๖.
มนุษย์เวียนว่ายตายเกิด
เพราะเหตุใด
?
ก.
เพราะมีกิเลสตัณหา ข.
เพราะทำกรรมชั่ว
ค.
เพราะรับผลกรรม ง.
เพราะมีกิเลส
กรรมและวิบาก
๑๗.
คำว่า
“
สิกขา
”
ในพระพุทธศาสนา
มีความหมายว่าอย่างไร
?
ก.
เรียนหนังสือ ข.
ฝึกหัดไตรทวาร
ค.
รักษาศีล ง.
ฝึกสมาธิ
๑๘.
การบำเพ็ญสมถภาวนา
ตรงกับสิกขาข้อใด
?
ก.
อธิสีลสิกขา
ข.
อธิจิตตสิกขา
ค.
อธิปัญญาสิกขา ง.
ไตรสิกขา
๑๙.
อานิสงส์ของการปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา
คือข้อใด
?
ก.
กำจัดกิเลส
ข.
ประหยัดอารมณ์
ค.
สะสมความสงบ
ง.
ปรารภความเพียร
๒๐.
ความหมายของข้อใด
ถูกต้อง
?
ก.
ศีลกำจัดกิเลสอย่างละเอียด ข.
ปัญญากำจัดกิเลสอย่างกลาง
ค.
ฌานกำจัดกิเลสอย่างละเอียด ง.
สมาธิกำจัดกิเลสอย่างกลาง
๒๑.
ผู้ไม่คิดจองเวรผู้อื่น
ชื่อว่าประพฤติอปัสเสนธรรมข้อใด
?
ก.
พิจารณาแล้วเสพ ข.
พิจารณาแล้วอดกลั้น
ค.
พิจารณาแล้วเว้น ง.
พิจารณาแล้วบรรเทา
๒๒.
ข้อใดเป็นความหมายของ
“
อัปปมัญญา
”
?
ก.
ปฏิปทาของท่านผู้ใหญ่ ข.
ปฏิปทาของพระอรหันต์
ค.
มีสัตว์หาประมาณมิได้ ง.
มีสัตว์เจาะจงเป็นอารมณ์
๒๓.
โสดาบัน
แปลว่าอะไร
?
ก.
ผู้ประเสริฐสูงสุด ข.
ผู้ไกลจากกิเลส
ค.
ผู้ไม่มาสู่โลกนี้อีก ง.
ผู้ถึงกระแสนิพพาน
๒๔.
พระอริยบุคคลระดับที่
๓
เรียกว่าอะไร
?
ก.
พระอรหันต์
ข.
พระอนาคามี
ค.
พระโสดาบัน
ง.
พระสกทาคามี
๒๕.
ปริญญา
เป็นกิจของอริยสัจข้อใด
?
ก.
ทุกขสัจ ข.
สมุทัยสัจ
ค.
นิโรธสัจ ง.
มัคคสัจ
๒๖.
สภาพที่ประกอบสัตว์ไว้ในกาม
เรียกว่าอะไร
?
ก.
กามโยคะ
ข.
กาโมฆะ
ค.
กามราคะ ง.
กามาสวะ
๒๗.
การปกป้องพระพุทธศาสนา
ควรเป็นหน้าที่ของใคร
?
ก.
บริษัท
๔
ข.
พระภิกษุ
ค.
อุบาสก-อุบาสิกา ง.
รัฐบาล
๒๘.
ข้อใด
เป็นความหมายที่แท้จริงของเมตตาพรหมวิหาร
?
ก.
ความรักกัน ข.
ความปรารถนาดีต่อกัน
ค.
การช่วยให้ผู้อื่นมีสุข ง.
การช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์
๒๙.
ผู้บรรลุธรรมระดับใด
ไม่มีความรักใคร่ทางกาม
?
ก.
ผู้ได้ฌานสมาบัติ
ข.
พระโสดาบัน
ค.
พระสกทาคามิมรรค
ง.
พระอนาคามิมรรค
๓๐.
ผู้บรรลุมรรคตั้งแต่ระดับใด
จึงจะไม่ไปอบาย
?
ก.
อรหัตมรรค ข.
อนาคามิมรรค
ค.
สกทาคามิมรรค
ง.
โสดาปัตติมรรค
๓๑.
คนที่ถูกไฟคือราคะเผาลนจิตใจ
มักคิดเรื่องใด
?
ก.
คิดเรื่องกามารมณ์ ข.
คิดเรื่องแก้แค้น
ค.
คิดเรื่องเสน่ห์ยาแฝด
ง.
คิดเรื่องหวยใต้ดินบนดิน
๓๒.
พระธรรมเทศนาเพื่อฟอกจิตไม่ให้เป็นคนโหดร้าย
ได้แก่ข้อใด
?
ก.
ทานกถา
ข.
สีลกถา
ค.
สัคคกถา ง.
กามาทีนวกถา
๓๓.
อาวาสมัจฉริยะ
คืออะไร
?
ก.
ตระหนี่สมบัติ ข.
ตระหนี่ที่อยู่
ค.
ตระหนี่ลาภ ง.
ตระหนี่ตระกูล
๓๔.
คนพิการทางร่างกาย
คิดฆ่าตัวตาย
ชื่อว่าตกอยู่ในอำนาจของมารในข้อใด
?
ก.
มารคือเบญจขันธ์
ข.
มารคือกิเลส
ค.
มารคือมรณะ
ง.
มารคือเทวบุตร
๓๕.
ความมีเมตตา
ช่วยแก้ไขคนที่มีจริตเช่นไร
?
ก.
ราคจริต ข.
โทสจริต
ค.
โมหจริต ง.
วิตักกจริต
๓๖.
ผู้ที่เชื่อง่ายโดยขาดเหตุผล
เพราะมีจริตอะไร
?
ก.
ราคจริต ข.
สัทธาจริต
ค.
พุทธิจริต ง.
วิตักกจริต
๓๗.
คำว่า
“
สันทิฏฐิโก
”
ตรงกับข้อใด
?
ก.
ผู้บรรลุเห็นได้ด้วยตนเอง ข.
ไม่ประกอบด้วยกาล
ค.
ควรเรียกให้มาดู ง.
ควรน้อมเข้ามาใส่ตน
๓๘.
คำสอนในพระพุทธศาสนาทันสมัยตลอดกาล
หมายถึงข้อใด
?
ก.
สันทิฏฐิโก ข.
อกาลิโก
ค.
เอหิปัสสิโก ง.
โอปนยิโก
๓๙.
ผู้มีสมาธิในการเรียนหนังสือ
เทียบได้กับวิสุทธิข้อไหน
?
ก.
สีลวิสุทธิ
ข.
จิตตวิสุทธิ
ค.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ง.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
๔๐.
ผู้ไม่มีความสงสัยในบทเรียนต่าง
ๆ
เทียบได้กับวิสุทธิข้อไหน
?
ก.
จิตตวิสุทธิ ข.
ญาณทัสสนวิสุทธิ
ค.
ทิฏฐิวิสุทธิ ง.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
๔๑.
บุคคลใด
ไม่เข้าลักษณะของผู้มีอวิชชา
?
ก.
ผู้ไม่รู้จักทุกข์ ข.
ผู้ไม่รู้จักอดีต
ค.
ผู้ไม่รู้จักกัน ง.
ผู้ไม่รู้จักปฏิจจสมุปบาท
๔๒.
ความไม่รู้จักสภาวะต่าง
ๆ
โดยความเป็นเหตุผลของกันและกัน
จัดเป็นอวิชชาข้อใด
?
ก.
ไม่รู้จักทุกข์ ข.
ไม่รู้จักอนาคต
ค.
ไม่รู้จักปัจจุบัน ง.
ไม่รู้จักปฏิจจสมุปบาท
๔๓.
ข้อใดไม่ใช่ความหมายของพระพุทธคุณ
บทว่า
“
อรหํ
”
?
ก.
ผู้รู้ ข.
ผู้เว้นไกล
ค.
ผู้ควร ง.
ผู้ไม่มีความลับ
๔๔.
สังฆคุณ
บทว่า
“
ปาหุเนยฺโย
”
มีความหมายว่าอย่างไร
?
ก.
เป็นผู้ควรของคำนับ
ข.
เป็นผู้ควรของต้อนรับ
ค.
เป็นผู้ควรของทำบุญ
ง.
เป็นผู้ควรทำอัญชลี
๔๕.
พระเวสสันดร
ได้บำเพ็ญบารมีข้อใดเป็นพิเศษ
?
ก.
ทานบารมี ข.
ศีลบารมี
ค.
สัจจบารมี ง.
อธิษฐานบารมี
๔๖.
พระมหาชนก
ได้บำเพ็ญบารมีข้อใดเป็นพิเศษ
?
ก.
ขันติบารมี ข.
วิริยบารมี
ค.
เมตตาบารมี ง.
ปัญญาบารมี
๔๗.
คนร้ายถูกตัดสินประหารชีวิต
ชื่อว่าเป็นผู้ได้รับผลกรรมใด
?
ก.
ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม
ข.
อุปปัชชเวทนียกรรม
ค.
อปราปรเวทนียกรรม ง.
อโหสิกรรม
๔๘.
ชนกกรรม
ส่งผลอย่างไร
?
ก.
ให้ผลในภพนี้ ข.
ให้ผลสำเร็จแล้ว
ค.
แต่งให้เกิด ง.
สนับสนุนกรรมอื่น
๔๙.
คนฆ่าสุกร
ก่อนตายส่งเสียงร้องเหมือนสุกรเพราะผลกรรมใด
?
ก.
ชนกกรรม
ข.
อุปฆาตกกรรม
ค.
พหุลกรรม
ง.
กตัตตากรรม
๕๐.
คนเดินเหยียบมดตายโดยไม่ตั้งใจ
จัดเป็นกรรมใด
?
ก.
ครุกรรม
ข.
อุปฆาตกกรรม
ค.
พหุลกรรม ง.
กตัตตากรรม
ผู้ออกข้อสอบ
|
:
|
๑.
พระศรีวีราภรณ์
|
วัดพระงาม
|
|
|
๒.
พระศรีธีรวงศ์
|
วัดพระประโทณเจดีย์
|
|
|
๓.
พระวีรธรรมมุนี
|
วัดไตรมิตรวิทยาราม
|
ตรวจ/ปรับปรุง
|
:
|
สนามหลวงแผนกธรรม
|
|
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen