ปัญหาและเฉลยวิชาเบญจศีล-เบญจธรรม
ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์
ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๘
--------------------
๑.
“ศีลธรรมไม่กลับมา
โลกาจะวินาศ” ศีลธรรม
หมายถึงอะไร ?
ก.
ศีล
๕ ข.
อุโบสถศีล
ค.
ความกตัญญู ง.
เบญจศีล
เบญจธรรม
๒.
จะปลูกพืชต้องเตรียมดิน
หากจะปลูกคุณธรรมให้มั่นคงในใจเล่า
ต้องทำสิ่งใดก่อน ?
ก.
รักษากายให้สะอาด ข.
รักษาศีลให้บริสุทธิ์
ค.
รักษาบ้านให้น่าอยู่ ง.
รักษาโรคภัยให้หาย
๓.
ตึกพังเพราะฐานที่ตั้งไม่ดี
ชีวิตพังทลายเพราะฐานข้อใดไม่ดี
?
ก.
เบญจศีล ข.
เบญจธรรม
ค.
สติ
สัมปชัญญะ ง.
หิริ
โอตตัปปะ
๔.
อะไร
เป็นเหตุสำคัญที่ทำให้ใจคนมั่นคงต่อความดี
?
ก.
ชาติตระกูล ข.
ทรัพย์สมบัติ
ค.
ศีล ง.
ยศศักดิ์
๕.
ข้อใด
แก้ไขไม่ได้ ?
ก.
รูปพรรณสัณฐาน
ข.
จิตใจที่ไม่ดี
ค.
ความเกียจคร้าน ง.
ความประมาท
๖.
การกัดปลา
ชนโค ตีไก่ จัดเป็นทรกรรมสัตว์ประเภทใด
?
ก.
กักขัง ข.
เล่นสนุก
ค.
ผจญสัตว์ ง.
ใช้การ
๗.
เหตุการณ์ใด
จัดเข้าในทรกรรมข้อเล่นสนุก
?
ก.
เล่นฟุตบอล ข.
เล่นกำถั่ว
ค.
ตีไก่
ชนโค ง.
จุดประทัดผูกหางสุนัข
๘.
ศีลข้อที่
๑ ขาดเพราะการกระทำข้อใด ?
ก.
การทำให้ตาย ข.
การทำให้เจ็บลำบาก
ค. การทรกรรม ง. การทำทารุณ
ค. การทรกรรม ง. การทำทารุณ
๙.
ข้อใด
ไม่ชื่อว่าการถือเอา ?
ก.
ข่มขู่ให้เขาทิ้งของ ข.
ฟ้องร้องให้เขาแพ้คดี
ค.
หลอกลวงให้เขาเอามาให้เอง ง.
เก็บเอาไปส่งครูเพื่อหาเจ้าของ
๑๐.
การกระทำใด
เป็นเหตุให้ศีลข้อที่ ๒ ขาด
?
ก.
ทุจริตคอรัปชั่น ข.
ทำของเพื่อนเสียหาย
ค.
ถือวิสาสะหยิบของเพื่อนไป ง.
กินแต่ของเพื่อนเหมือนกาฝาก
๑๑.
รู้ว่าเป็นของขโมยมา
ยังรับซื้อไว้เพื่อขายเก็งกำไร
จัดเป็นอนุโลมโจรกรรมข้อใด
?
ก.
ลักลอบ ข.
ปอกลอก
ค.
รับสินบน ง.
สมโจร
๑๒.
การอวดอ้างสรรพคุณสินค้าเกินความเป็นจริง
เพื่อให้ผู้ซื้อหลงเชื่อจัดเป็นมุสาวาทชนิดใด
?
ก.
มารยา ข.
ทำเลศ
ค.
เสริมความ ง.
อำความ
๑๓.
ข้อใด
ชื่อว่าโกงของ ?
ก.
ขายของปน ข.
ขายของปลอม
ค.
ใช้ของมีคุณภาพต่ำกว่าสัญญา ง.
ถูกทุกข้อ
๑๔.
คำว่า
“กาม” หมายถึงข้อใด ?
ก.
ความรักฉันเพื่อน ข.
ความรักฉันพี่น้อง
ค.
ความรักฉันบิดามารดา ง.
ความรักใคร่ทางประเวณี
๑๕.
ข้อใด
เป็นความหมายที่ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุดของคำว่า
“มุสาวาท” ?
ก.
ข้อความอันเป็นเท็จ
ข.
ความพยายามกล่าวเท็จ
ค.
การเว้นจากการกล่าวเท็จ
ง.
กิริยาที่พูดหรือแสดงอาการมุสา
๑๖.
กลอุบายหาลาภ
เช่น ทำเสน่ห์ยาแฝด
จัดเป็นมุสาวาทชนิดใด ?
ก.
มารยา ข.
ทำเลศ
ค.
อำความ ง.
ทำเล่ห์กระเท่ห์
๑๗.
พูดส่อเสียด
คือกิริยาเช่นใด ?
ก.
พูดไว้แล้วกลับคำ ข.
พูดยกย่อง
ค.
พูดเพื่อจะโกง ง.
พูดให้แตกกัน
๑๘.
ตัวละครในนิยาย
มีสัตว์พูดกับคน เป็นต้น
จัดเป็นมุสาวาทหรือไม่ ?
ก.
เป็น
เพราะพูดไม่จริง
ข.
เป็น
เพราะตั้งใจหลอกเด็ก
ค.
ไม่เป็น
เพราะเป็นโวหารหรือสำนวน
ง.
ไม่เป็น
เพราะเป็นอุบายให้เข้าใจสุภาษิต
๑๙.
ไปเล่นการพนันบ้านเพื่อน
ถูกแม่ถามตอบแค่ว่า “ไปบ้านเพื่อน”
จัดเป็นวจีทุจริต
ชนิดใด ?
ชนิดใด ?
ก.
เสริมความ ข.
อำความ
ค.
มารยา ง.
ทำเลศ
๒๐.
มุสาวาทข้อใด
ชื่อว่าสร้างเรื่องเท็จ ?
ก.
อ้างการกุศลหลอกเรี่ยไร ข.
เห็น
บอกว่าไม่เห็น
ค.
ไม่เห็น
บอกว่าเห็น ง.
พูด
บอกว่าไม่ได้พูด
๒๑.
ศีลข้อใด
บัญญัติเพื่อไม่ให้เสียสุขภาพและความดี
?
ก.
ศีลข้อ
๕ ข.
ศีลข้อ
๔
ค.
ศีลข้อ
๓ ง.
ศีลข้อ
๒
๒๒.
อะไร
เป็นเหตุสำคัญให้คนเกิดความประมาท
?
ก.
ง่วงนอน ข.
เมาสุรา
ค.
เจ็บไข้ ง.
ใจลอย
๒๓.
ข้อใด
เป็นโทษของการดื่มน้ำเมา
?
ก.
เสียทรัพย์สิน ข.
เป็นเหตุก่อวิวาท
ค.
เป็นเหตุเกิดโรค ง.
ถูกทุกข้อ
๒๔.
เราเรียกบุคคลผู้มีศีลธรรม
อีกชื่อว่า…..
?
ก.
กัลยาณชน ข.
ปุถุชน
ค.
สามัญชน ง.
อริยชน
๒๕.
ไม่ยอมรับบุหรี่จากเพื่อนมาสูบ
เพราะเห็นว่าเป็นเรื่องไม่ดี
จัดเป็นวิรัติข้อใด ?
ก.
สมาทานวิรัติ ข.
สัมปัตตวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ ง.
ถูกทุกข้อ
๒๖.
ผู้งดเว้นจากการทำบาปด้วยคิดถึงอกเขาอกเรา
เรียกว่า…..
?
ก.
สัมปัตตวิรัติ ข.
สมาทานวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ ง.
มังสวิรัติ
๒๗.
หัวขโมยยังไม่ได้โอกาสขโมย
จึงเว้นไว้ก่อน จัดเป็นวิรัติใดหรือไม่
?
ก.
สมาทานวิรัติ ข.
สัมปัตตวิรัติ
ค.
สมุจเฉทวิรัติ ง.
ไม่เป็นวิรัติ
๒๘.
ถ้าล่วงละเมิดศีลข้อที่
๑ จะทำให้บุคคลขาดคุณธรรมข้อใด
?
ก.
ความสัตย์ ข.
ความสำรวมในกาม
ค.
เมตตา-กรุณา ง.
ถูกทุกข้อ
๒๙.
การเผื่อแผ่ให้ความสุขแก่ผู้อื่น
เรียกว่า…….
?
ก.
เมตตา ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๓๐.
การช่วยเปลื้องทุกข์ของผู้อื่น
เรียกว่า…..
?
ก.
เมตตา ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๓๑.
กัลยาณธรรมข้อใด
เป็นเหตุให้มนุษย์คิดเกื้อกูลกันและกัน
?
ก.
เมตตา ข.
กรุณา
ค.
สัมมาอาชีวะ ง.
ความมีสัตย์
๓๒.
การไถ่ชีวิตโคกระบือที่ถูกนำไปฆ่า
เกิดจากจิตประกอบด้วย…..
?
ก.
เมตตา ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา ง.
อุเบกขา
๓๓.
สัมมาอาชีวะมีความหมายตรงกับข้อใด
?
ก.
การงานชอบ ข. การเจรจาชอบ
ค.
เลี้ยงชีพชอบ ง.
ความเพียรชอบ
๓๔.
เทปผี
ซีดีเถื่อน เกลื่อนเมือง
เพราะสาเหตุใด ?
ก.
เบียดเบียนกัน ข.
ไม่ซื่อสัตย์ต่อกัน
ค.
สังคมแตกแยก ง.
เลี้ยงชีวิตในทางไม่ชอบ
๓๕.
ประพฤติเป็นธรรมในกิจการ
ได้แก่ข้อใด ?
ก.
เขียวซื่อสัตย์ต่อเจ้านาย ข.
แดงขายของตามราคาที่ติดไว้
ค.
ดำไม่เอาของปลอมมาหลอกขาย
ง.
ขาวตรงเวลา
ทำงานก่อน เลิกทีหลัง
๓๖.
ขยันทำกินด้วยความสุจริต
ช่วยให้ศีลข้อใดมั่นคง ?
ก.
ศีลข้อ
๑ ข.
ศีลข้อ
๒
ค.
ศีลข้อ
๓ ง.
ศีลข้อ
๔
๓๗. ผู้ใช้แรงงานไม่โกงเวลา
พัฒนาฝีมือ สัตย์ซื่อต่อหน้าที่
ชื่อว่าประพฤติเป็นธรรม ในอะไร
?
ก.
กิจการ ข.
บุคคล
ค.
วัตถุ ง.
ถูกทุกข้อ
๓๘.
ข้อใด
ชื่อว่าประพฤติเป็นธรรมในกิจการ
?
ก.
ไม่โกงของ ข.
ไม่โกงคน
ค.
ไม่โกงงาน ง.
ไม่โกงชาติ
๓๙.
ข้อใด
ชื่อว่าประพฤติไม่เป็นธรรมในบุคคล
?
ก.
โกงชาติ ข.
โกงคน
ค.
โกงของ ง.
โกงงาน
๔๐.
โรคเอดส์จะลดลง
เพราะมีคุณธรรมข้อไหน ?
ก.
ความมีสัตย์ ข.
ความมีเมตตากรุณา
ค.
ความสำรวมในกาม ง.
ความมีสติ
๔๑.
สทารสันโดษ
ใกล้กับสำนวนไทยข้อใด ?
ก.
กินน้ำใต้ศอก ข.
ร้อยชู้หรือจะสู้เนื้อเมียตน
ค.
หญิงหลายใจ
ชายหลายรัก ง.
เสียทองเท่าหัว
ไม่ยอมเสียผัวให้ใคร
๔๒.
เมื่อรักษาศีลข้อ
๓ แล้ว จะเกิดประโยชน์อะไร
?
ก.
สร้างความสามัคคี ข.
เว้นการเบียดเบียนกัน
ค.
ป้องกันภัยอันตราย ง.
ถูกทุกข้อ
๔๓.
โครงการ
“หนึ่งคน หนึ่งสัจจะ”
สนับสนุนศีลข้อใด ?
ก.
ศีลข้อ
๑ ข.
ศีลข้อ
๒
ค.
ศีลข้อ
๓ ง.
ศีลข้อ
๔
๔๔.
หลักธรรมที่ควรใช้ในการตัดสินคดีคือ…..
?
ก.
ความเที่ยงธรรม ข.
ความซื่อตรง
ค.
ความสวามิภักดิ์ ง.
ความกตัญญู
๔๕.
ความกตัญญูกตเวที
เพิ่มคุณสมบัติให้แก่ศีลข้อใด
?
ก.
ศีลข้อ
๒ ข.
ศีลข้อ
๓
ค.
ศีลข้อ
๔ ง.
ศีลข้อ
๕
๔๖.
ตั้งสติ
ก่อนสตาร์ท เป็นโครงการตามหลักเบญจธรรมข้อใด
?
ก.
ข้อ
๒ ข.
ข้อ ๓
ค.
ข้อ
๔ ง.
ข้อ ๕
๔๗.
ศีลข้อที่
๕ ป้องกันความเสียหายจากสาเหตุใด
?
ก.
ความขี้ปด ข.
ความโหดร้าย
ค. ความขาดสติ ง. ความมือไว
ค. ความขาดสติ ง. ความมือไว
๔๘.
ข้อใด
เป็นคุณพิเศษประดับผู้มีศีลข้อที่
๕ ?
ก.
ความรู้จักประมาณในอาหาร ข.
ความไม่เลินเล่อในการงาน
ค.
ความมีสติสัมปชัญญะ ง.
ถูกทุกข้อ
๔๙.
การเอาใจฝักใฝ่ในการศึกษาไม่วางธุระ
คือข้อใด ?
ก.
ฉันทะ
ข.
วิริยะ
ค.
จิตตะ
ง.
วิมังสา
๕๐.
พุทธศาสนิกชนผู้ไม่รักษาศีล
๕ เลย เป็นได้ดีที่สุดก็เพียงแค่…..
?
ก.
กัลยาณชน ข.
ได้บรรลุโสดาบัน
ค.
คนผู้ใกล้พระรัตนตรัย ง.
ผู้สรรเสริญพระพุทธศาสนา
ผู้ออกข้อสอบ
|
:
|
๑.
|
พระธรรมปิฎก
|
วัดพระพุทธบาท
|
|
|
๒.
|
พระราชปริยัติเวที
|
วัดพระพิเรนทร์
|
|
|
๓.
|
พระเมธีปริยัติวิบูล
|
วัดสามพระยา
|
ตรวจ/ปรับปรุง
|
:
|
|
สนามหลวงแผนกธรรม
|
|
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen