ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ
ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์
ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๘
๑.
อนุพุทธะองค์แรกในพระพุทธศาสนาคือใคร
?
ก.
พระอัญญาโกณฑัญญะ ข.
พระวัปปะ
ค.
พระภัททิยะ ง.
พระอัสสชิ
๒.
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ใคร
เป็นครั้งแรก ?
ก.
ปัญจวัคคีย์ ข.
อาฬารดาบส
ค.
อุทกดาบส ง.
ตปุสสะ-ภัลลิกะ
๓.
ก่อนบวช
พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใด
?
ก.
ศาสนศาสตร์ ข.
ดาราศาสตร์
ค.
โหราศาสตร์ ง.
ไสยศาสตร์
๔.
พระอัญญาโกณฑัญญะนิพพานที่ไหน
?
ก.
ใกล้สระโบกขรณี
เมืองสาวัตถี ข.
ใกล้สระฉัททันต์
ป่าหิมพานต์
ค.
ใกล้สระอาบน้ำ
เมืองราชคฤห์ ง.
ใกล้สระล้างบาป
เมืองเวสาลี
๕.
ดวงตาเห็นธรรม
หมายความว่าอย่างไร ?
ก.
สิ่งทั้งมวลล้วนเป็นทุกข์
ข.
สิ่งทั้งมวลล้วนไม่เที่ยง
ค.
สิ่งทั้งมวลล้วนเป็นอนัตตา
ง.
สิ่งใดมีความเกิด
สิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา
๖.
ส่วนสุด
๒ อย่าง อยู่ในพระสูตรใด ?
ก.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ข.
อนัตตลักขณสูตร
ค.
อาทิตตปริยายสูตร ง.
เวทนาปริคคหสูตร
๗.
มัชฌิมาปฏิปทา
มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก.
การปฏิบัติทางสายกลาง ข.
การหมกมุ่นในกาม
ค.
การทรมานตน ง.
การบรรลุมรรคผล
๘.
การบูชาไฟ
เป็นข้อปฏิบัติของใคร ?
ก.
นิครนถ์ ข.
ฤษี
ค.
ชฎิล ง.
สันยาสี
๙.
นักบวชประเภทใด
เกล้าผมเป็นเซิง ?
ก.
ฤษี ข.
อเจลก
ค.
ปริพาชก ง.
ชฎิล
๑๐.
นทีกัสสปะ
ตั้งอาศรมอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำใด
?
ก.
อจิรวดี ข.
ยมุนา
ค.
เนรัญชรา ง.
คยา
๑๑.
อาทิตตปริยายสูตร
มุ่งแสดงถึงเรื่องใด ?
ก.
โทษของการบูชาไฟ ข.
โทษของไฟ
คือราคะ โทสะ โมหะ
ค.
โทษของการบูชาพระอาทิตย์ ง.
โทษของการบูชายัญ
๑๒.
พระอุรุเวลกัสสปะ
ได้รับเอตทัคคะด้านใด ?
ก.
มีญาติพี่น้องมาก ข.
มีบริวารมาก
ค.
มีอุปัฏฐากมาก ง.
มีผู้เลื่อมใสมาก
๑๓.
ข้อใด
ไม่ใช่คำพูดของพระอัสสชิ
?
ก.
เราเป็นผู้ใหม่ ข.
บวชยังไม่นาน
ค.
เพิ่งมาสู่ธรรมวินัยนี้ ง.
อาจแสดงธรรมโดยพิสดาร
๑๔.
อุปติสสะ
ได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะฟังธรรมจากใคร
?
ก.
พระพุทธเจ้า ข.
พระอัญญาโกณฑัญญะ
ค.
พระอัสสชิ ง.
พระยสะ
๑๕.
พระสาวกรูปใด
บวชแล้วไม่ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ภายใน
๗ วัน ?
ก.
พระอัสสชิ ข.
พระอุรุเวลกัสสปะ
ค.
พระสารีบุตร ง.
พระโมคคัลลานะ
๑๖.
พระสารีบุตรได้รับตำแหน่งใด
ในพระพุทธศาสนา ?
ก.
อัครสาวกเบื้องซ้าย ข.
อัครสาวกเบื้องขวา
ค.
ภัตตุทเทสก์ ง.
พุทธอุปัฏฐาก
๑๗.
พระสาวกรูปใด
ชื่อว่าเป็นยอดกตัญญู ?
ก.
พระสารีบุตร ข.
พระราหุล
ค.
พระอัสสชิ ง.
พระอานนท์
๑๘.
“เราจักไม่ชูงวงคือถือตัว
เข้าไปสู่สกุล” พระพุทธเจ้าตรัสที่ไหน
?
ก.
ถ้ำสุกรขาตา ข.
บ้านนางโมคคัลลี
ค.
บ้านกัลลวาลมุตตคาม ง.
บ้านเวฬุวคาม
๑๙.
อัฐิธาตุของพระโมคคัลลานะบรรจุไว้ที่ใด
?
ก.
ใกล้ประตูเวฬุวนาราม ข.
ใกล้ประตูเวฬุวคาม
ค.
ใกล้ประตูบุพพาราม ง.
ใกล้ประตูเชตวนาราม
๒๐.
“ฆราวาสคับแคบ
เป็นทางมาแห่งกิเลสธุลี”
เป็นคำพูดของใคร ?
ก.
อุปติสสมาณพ ข.
โกลิตมาณพ
ค.
ปิปผลิมาณพ ง.
อชิตมาณพ
๒๑.
ผ้าชนิดใด
พระพุทธเจ้าประทานแก่พระมหากัสสปะ
?
ก.
ผ้าบังสุกุล ข.
ผ้าสังฆาฏิ
ค.
ผ้าอุตตราสงค์ ง.
ผ้าอันตรวาสก
๒๒.
พระมหากัสสปะทราบข่าวพระพุทธเจ้าปรินิพพานจากนักบวชกลุ่มใด
?
ก.
นิครนถ์ ข.
อเจลก
ค.
อาชีวก ง.
ชฎิล
๒๓.
พระมหากัสสปะนิพพานที่เมืองใด
?
ก.
เมืองสาวัตถี ข.
เมืองราชคฤห์
ค.
เมืองเวสาลี ง.
เมืองสาเกต
๒๔.
ใครวิสัชนาพระวินัย
ในการทำสังคายนาครั้งแรก
?
ก.
พระอุบาลีเถระ ข.
พระอานนทเถระ
ค.
พระอนุรุทธเถระ ง.
พระมหากัสสปเถระ
๒๕.
ข้อใด
ไม่ใช่เอตทัคคะของพระอานนท์
?
ก.
เป็นพหุสูต ข.
มีสติ
ค.
แสดงธรรมได้ไพเราะ ง.
มีความเพียร
๒๖.
เหตุใด
โสณกุฏิกัณณะต้องเป็นสามเณรอยู่ถึง
๓ ปี จึงได้อุปสมบท ?
ก.
พระพุทธองค์ไม่ทรงบวชให้ ข.
สงฆ์ไม่เป็นใหญ่รับบวชกุลบุตร
ค.
ไม่มีพระอุปัชฌาย์บวชให้ ง.
อวันตีชนบทมีภิกษุไม่ถึง
๑๐ รูป
๒๗.
“หมู่มนุษย์ในโลกนี้อาศัยอะไรจึงบูชายัญ”
ใครเป็นผู้ถาม ?
ก.
โมฆราชมาณพ ข.
ปิงคิยมาณพ
ค.
ปุณณกมาณพ ง.
เมตตคูมาณพ
๒๘.
ใครได้รับเอตทัคคะด้านทรงจีวรเศร้าหมอง
?
ก.
พระเหมกะ ข.
พระนันทกะ
ค.
พระโมฆราช ง.
พระอชิตะ
๒๙.
พระสาวกที่อุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจารูปแรก
คือใคร ?
ก.
พระราธะ ข.
พระปุณณมันตานีบุตร
ค.
พระจูฬปันถก ง.
พระราหุล
๓๐.
พระสาวกที่ตั้งอยู่ในคุณเช่นไรแล้ว
สอนผู้อื่นให้ตั้งอยู่ในคุณเช่นนั้น
คือใคร ?
ก.
พระมหากัจจายนะ ข.
พระปุณณมันตานีบุตร
ค.
พระราธะ ง.
พระอานนท์
๓๑.
พระสารีบุตรสรรเสริญพระราธะว่าอย่างไร
?
ก.
ว่าง่ายสอนง่าย ข.
ใคร่การศึกษา
ค.
มีปฏิภาณดี ง.
สำรวมอินทรีย์
๓๒.
พระสาวกรูปใด
ปรารถนาได้รับโอวาทเท่าเม็ดทรายในกำมือทุกวัน
?
ก.
พระอานนท์ ข.
พระจุนทะ
ค.
พระราหุล ง.
พระปิลินทวัจฉะ
๓๓.
พระลกุณฏกภัททิยะ
ได้รับเอตทัคคะด้านใด ?
ก.
ปรารภความเพียร ข.
แสดงธรรมได้วิจิตร
ค.
แสดงธรรมไพเราะ ง.
มีเสียงไพเราะ
๓๔.
พระสาวกรูปใด
อยู่ในครรภ์ของมารดานานถึง
๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน ?
ก.
พระทัพพมัลลบุตร ข.
พระสีวลี
ค.
พระวังคีสะ ง.
พระจูฬปันถก
๓๕.
พระสาวกรูปใด
ออกบวชเพราะเพื่อนชวน ?
ก.
พระอนุรุทธะ ข.
พระภัททิยะ
ค.
พระรัฐบาล ง.
พระพากุละ
๓๖.
พระสาวกรูปใด
ยอมอดข้าวตาย ถ้าไม่ได้ออกบวช
?
ก.
พระมหากัปปินะ ข.
พระรัฐบาล
ค.
พระปิลินทวัจฉะ ง.
พระอานนท์
๓๗.
พระสาวกรูปใด
เป็นบุตรของภิกษุณี ?
ก.
พระมหากัปปินะ ข.
พระปิณโฑลภารทวาชะ
ค.
พระเรวตะ ง.
พระกุมารกัสสปะ
๓๘.
พระสาวกรูปใด
มักเรียกคนอื่นว่า “คนถ่อย”
?
ก.
พระสุภูติ ข.
พระปิณโฑลภารทวาชะ
ค.
พระปิลินทวัจฉะ ง.
พระวักกลิ
๓๙.
พระสาวกรูปใด
ออกบวชเพราะต้องการเห็นพระพุทธเจ้า
?
ก.
พระสาคตะ ข.
พระโสภิตะ
ค.
พระวักกลิ ง.
พระรัฐบาล
๔๐.
พระพาหิยะ
ได้รับเอตทัคคะด้านใด ?
ก.
มีบริวารมาก ข.
ตรัสรู้เร็ว
ค.
ชำนาญในมโนมยิทธิ ง.
เป็นที่รักใคร่ของเทวดา
ศาสนพิธี
๔๑.
วันเข้าพรรษา
ตรงกับวันอะไร ?
ก.
วันขึ้น
๑ ค่ำ เดือน ๘
ข.
วันแรม
๑ ค่ำ เดือน ๘
ค.
วันขึ้น
๑๕ ค่ำ เดือน ๘
ง.
วันแรม
๑๕ ค่ำ เดือน ๘
๔๒.
เทศน์มหาชาติ
คือเทศน์เรื่องอะไร ?
ก.
พระเจ้า
๕๐๐ ชาติ
ข.
พระเจ้า
๑๐๐ ชาติ
ค.
พระเจ้า
๑๐ ชาติ
ง.
พระเวสสันดรชาดก
๔๓.
พระพุทธองค์ทรงโปรดพระมารดาด้วยเทศนาอะไร
?
ก.
พระวินัย ข.
พระสูตร
ค.
พระอภิธรรม ง.
พระไตรลักษณ์
๔๔.
วันเทโวโรหณะ
คือวันอะไร ?
ก.
วันตักบาตรข้าวสาร
ข.
วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จบิณฑบาต
ค.
วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก
ง.
วันที่พระพุทธเจ้าออกพรรษา
๔๕.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
นิยมสวดในงานอะไร ?
ก.
งานทำบุญอายุ
ข.
งานฉลองพระบวชใหม่
ค.
งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่
ง.
งานมงคลสมรส
๔๖.
ทำบุญ
“สัตตมวาร” หมายถึงการทำบุญเช่นไร
?
ก.
ครบ ๗
วัน ข.
ครบ
๕๐ วัน
ค.
ครบ
๑๐๐ วัน ง.
ครบ ๑
ปี
๔๗.
“ทักขิณานุปทาน”
มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ทำบุญวันเกิด ข.
ทำบุญอายุ
ค.
ทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ง.
ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย
๔๘.
งานทำบุญต่อนาม
คือทำบุญอะไร ?
ก.
ต่ออายุ ข.
เปลี่ยนชื่อ
ค.
รับบุตรผู้เกิดใหม่ ง.
สะเดาะเคราะห์
๔๙.
คำถวายสังฆทานว่า
“สงฺฆสฺส นิยฺยาเทม”
ใช้ถวายของเช่นไร ?
ก.
ของเล็กๆ
น้อยๆ ข.
ของที่มีชีวิต
ค.
ของที่ยกถวายได้ ง.
ของที่ยกถวายไม่ได้
๕๐.
คำถวายสังฆทานว่า
“สงฺฆสฺส โอโณชยาม” ใช้ถวายของเช่นไร
?
ก.
ของที่ยกถวายได้ ข.
ของที่ยกถวายไม่ได้
ค.
ของที่มีราคาสูง ง.
ของที่พระจับต้องไม่ได้
ผู้ออกข้อสอบ
|
:
|
๑.
|
พระราชปริยัติ
|
วัดนครสวรรค์
|
|
|
๒.
|
พระศรีวิสุทธิวงศ์
|
วัดพระเชตุพนฯ
|
|
|
๓.
|
พระศรีปริยัติธาดา
|
วัดราชสิทธาราม
|
ตรวจ/ปรับปรุง
|
:
|
|
สนามหลวงแผนกธรรม
|
|
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen