Samstag, 2. November 2019

ปัญหาและเฉลยวิชาอุโบสถศีล(วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท ปี 2548


ปัญหาและเฉลยวิชาอุโบสถศีล ธรรมศึกษาชั้นโท

สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๔๘

. เครื่องควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ให้เรียบร้อยคือ….. ?
. ทาน . ศีล
. สมาธิ . ปัญญา

. เป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา ได้แก่….. ?
. มนุษยสมบัติ . สวรรคสมบัติ
. สมาบัติ ๘ . มรรค ผล นิพพาน

. พาณิชสองพี่น้อง เข้าถึงพระรัตนตรัยด้วยวิธีใด ?
. สมาทาน . มอบตนเป็นสาวก
. ถวายชีวิตในพระรัตนตรัย . เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา


. สรณคมน์ หมายเอาการถึงสรณะในข้อใด ?
. พระพุทธเจ้า . พระธรรม
. พระสงฆ์ . ทั้ง ๓ ข้อ

. การขาดสรณคมน์ไม่มีโทษ เพราะ….. ?
. ความตาย . ทำร้ายพระศาสดา
. ไปนับถือศาสดาอื่น . ไม่มีข้อถูก

. ผู้ใด มีสรณคมน์เศร้าหมอง ?
. ดำไม่ถูกกับพระบางรูป . ปีเตอร์สมาทานศีลไม่ชัด
. พระเท่งไปเที่ยวประเทศอิรัก . ชัดสงสัยว่าพระพุทธเจ้ามีจริงหรือ

. อุโบสถชนิดใด รักษาตลอดวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ?
. ปกติอุโบสถ . ปฏิชาครอุโบสถ
. ปาฏิหาริยอุโบสถ . อริยอุโบสถ

. ศีลข้อใด สนับสนุนให้คนงามตามธรรมชาติ ?
. ศีลข้อ ๕ . ศีลข้อ ๖
. ศีลข้อ ๗ . ศีลข้อ ๘

. เมื่อพระสงฆ์กล่าวว่า “ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ” พึงรับพร้อมกันว่า…. ?
. สาธุ ภนฺเต . สมฺปฏิจฺฉามิ
. อาม ภนฺเต . สาธุ อนุโมทามิ

๑๐. ผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ปฏิบัติอย่างไรถูกต้องที่สุด ?
. ทำพิธีรับขันธ์ห้า . ปฏิบัติเพื่อละกิเลส
. ทำบุญเพื่อเสริมดวงชะตา . หาเช่าบูชาพระเครื่องรุ่นนิยม

๑๑. คำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ใครกล่าวครั้งแรก ?
. อุปกาชีวก . ตปุสสะ ภัลลิกะ
. ท้าวมหาพรหม . พระสัมมาสัมพุทธเจ้า

๑๒. จากคำถามข้อที่ ๑๑ กล่าวไว้เพื่อจุดประสงค์ใด ?
. เพื่อเป็นวิธีบวช . เพื่อสอนชาวบ้าน
. เพื่อเจริญอนุสสติ . เพื่อป้องกันอมนุษย์

๑๓. การขาดสรณคมน์ อาจเกิดขึ้นได้กับบุคคลใด ?
. โสดาบันบุคคล . สกทาคามีบุคคล
. อนาคามีบุคคล . บุคคลทั่วไป

๑๔. ข้อใด ไม่จัดอยู่ในสรณะทั้ง ๓ ?
. พระสมณโคดม . พระโพธิสัตว์
. พระกัสสปเถระ . พระขีณาสพ

๑๕. ผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย” ตามความหมายที่ถูกต้องคือข้อใด ?
. รักษาศีล ๕ เป็นประจำ . เข้าไปหายามมีภัยเกิดขึ้น
. เป็นญาติกับพระภิกษุสงฆ์ . เคยอุปสมบทเป็นพระภิกษุ

๑๖. ผู้ใด เป็นตัวอย่างของผู้ถึงพระรัตนตรัยอย่างมั่นคง ?
. ตปุสสะและภัลลิกะ . อุตรมานพ
. สุปปพุทธกุฏฐิ . พรหมายุพราหมณ์

๑๗. พุทธะ แปลว่า ผู้รู้ หมายถึง ?
. รู้ตามผู้อื่น . รับความรู้จากพระเจ้า
. คิดเอาเอง . ตรัสรู้และสอนให้ผู้อื่นรู้

๑๘. พระสงฆ์ได้นามว่าสังฆะ เพราะ….. ?
. มีทิฏฐิและศีลเสมอกัน . อาศัยอยู่ในวัดเดียวกัน
. โกนผมห่มจีวรเหมือนกัน . นับถือพระพุทธศาสนาเหมือนกัน

๑๙. ผู้เปล่งวาจาว่า “ข้าพเจ้านอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า” ชื่อว่าถึงสรณะด้วยวิธีไหน ?
. ปฏิบัติหน้าที่พุทธบริษัท . ยอมนอบน้อม
. มอบตนเป็นสาวก . การสมาทาน

๒๐. สรณคมน์ของผู้ใด ไม่มีการขาด ?
. ภิกษุ . ภิกษุณี
. อุบาสกอุบาสิกา . พระอริยบุคคล

๒๑. คำว่า “สรณะ” แปลว่า ที่พึ่ง หมายถึงอะไร ?
. มีความขลัง . กำจัดทุกข์ได้
. ดลบันดาลอะไรก็ได้ . มีความศักดิ์สิทธิ์

๒๒. การถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ หมายถึงอะไร ?
. การขอพร . การบนบาน
. การขอความคุ้มครอง . การปฏิบัติตามคำสอน

๒๓. ข้อใด เป็นเหตุให้สรณคมน์เศร้าหมอง ?
. ไม่รู้จักพระรัตนตรัย . เข้าใจผิดในพระรัตนตรัย
. ไม่เอื้อเฟื้อพระรัตนตรัย . ถูกทุกข้อ

๒๔. ในคังคมาลชาดก พระโพธิสัตว์ชื่อว่าไม่ได้สมาทานรักษาอุโบสถ เพราะสาเหตุใด ?
. รับประทานอาหารเย็น . ไม่รับประทานอาหาร
. ไม่ได้รับอุโบสถศีล . ไม่ได้อธิษฐานอุโบสถ

๒๕. อุโบสถใด ไม่ประกอบด้วยสรณคมน์และองค์ ๘ ?
. อุโบสถนอกพุทธกาล . อุโบสถสมัยพุทธกาล
. อุโบสถหลังพุทธกาล . อุโบสถในปัจจุบัน

๒๖. ปกติอุโบสถนั้นกำหนดรักษาเดือนละ ๔ วัน ยกเว้นวันใด ?
. วันขึ้น ๑๔ ค่ำ . วันแรม ๘ ค่ำ
. วันขึ้น ๑๕ ค่ำ . วันแรม ๑๔ ค่ำ

๒๗. ข้อใด ไม่ถือว่าเป็นการล่วงละเมิดศีลอุโบสถ ?
. ร้องเพลงชาติ ในเวลา ๘ นาฬิกา . เดินเหยียบมดตาย โดยไม่รู้ตัว
. ทานยาดองเหล้า เพื่อแก้ปวดเมื่อย . ทานข้าวหลังเที่ยง เพราะต้องกินยา

๒๘. การรักษาอุโบสถประเภทใด ได้อานิสงส์มากที่สุด ?
. ปฏิชาครอุโบสถ . ปาฏิหาริยอุโบสถ
. โคปาลกอุโบสถ . อริยอุโบสถ

๒๙. การสมาทานรักษาศีลอุโบสถนั้น เหมาะแก่ใคร ?
. คนสูงอายุ . คนทำงาน
. คนวัยรุ่น . ถูกทุกข้อ

๓๐. สถานที่ใด สามารถอยู่รักษาอุโบสถศีลได้ ?
. วัดใกล้บ้าน . สวนสาธารณะ
. ป่าช้า . ถูกทุกข้อ

๓๑. การกระทำใด ทำให้ศีลข้อที่ ๗ ขาด ?
. ฟังละครวิทยุ . แต่งหน้าทาปาก
. ถูกทั้ง ก. และ ข. . นอนบนที่นอนสูง

๓๒. ในเรื่องปัญจอุโบสถ แสดงให้เห็นถึงข้อใด ?
. ควรแก้ทุกข์ด้วยศีลธรรม
. การประพฤติธรรมทำให้มีอายุยืน
. โทษที่เกิดจากการล่วงละเมิดอุโบสถ
. ปาฏิหาริย์ที่เกิดจากการรักษาอุโบสถ

๓๓. ความเชื่อใด ไม่ใช่ความเชื่อของผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ?
. ชาติหน้ามีจริง
. ผลของกรรมมีจริง
. ลางดี ลางร้าย บอกเหตุได้จริง
. การประพฤติธรรมทำให้พ้นทุกข์ได้จริง

๓๔. เมื่อรักษาอุโบสถศีลแล้ว การรักษานั้นจะสิ้นสุดได้เมื่อใด ?
. เมื่อพ้นกำหนดเวลา . เมื่อลาศีลกับพระภิกษุ
. เมื่อตั้งเจตนาเลิกรักษา . เมื่อเปล่งวาจาเลิกรักษา

๓๕. ขณะที่รักษาอุโบสถ หากเผลอล่วงละเมิดศีล ควรทำอย่างไร ?
. ลาศีลกลับบ้าน . พยายามสำรวมระวังต่อไป
. ทำบุญสะเดาะเคราะห์ . อยู่เฉย ๆ ไม่ต้องทำอะไร

๓๖. คำกล่าวขึ้นต้นว่า “อชฺช โภนฺโต ปกฺขสฺส อฏฺฐมีทิวโส….” เป็นคำกล่าวของข้อใด ?
. คำอาราธนาอุโบสถศีล . คำประกาศอุโบสถ
. คำบูชาพระรัตนตรัย . คำรับสรณคมน์

๓๗. ข้อใด หมายถึงการรักษาศีล ?
. การขอศีล . การรับศีล
. การสมาทานศีล . การไม่ล่วงละเมิดศีล

๓๘. ขั้นตอนใด ต้องทำก่อนประกาศอุโบสถ ?
. อาราธนาศีล . บูชาพระรัตนตรัย
. สมาทานศีล . รับสรณคมน์

๓๙. การเข้าวัดปฏิบัติธรรม ข้อไหนถูกต้อง ?
. เพื่อทำพิธีตัดกรรม . เพื่อเสริมดวงชะตา
. เพื่อหาแสวงหาโชคลาภ . เพื่อเจริญภาวนา
๔๐. อุโบสถก่อนพุทธกาล หมายถึง ?
. การสมาทานองค์ ๘ . การบำเพ็ญตบะบูชาไฟ
. การรับประทานแต่ผลไม้ . การอดอาหารในวันที่กำหนด

๔๑. อุโบสถกรรมครึ่งเดียว หมายถึง ?
. รักษาศีล ๔ ข้อ . รักษาศีลครึ่งวัน
. รักษาศีล ๓ วัน . รักษาศีลบ้างไม่รักษาบ้าง

๔๒. ความมุ่งหมายของการเข้าจำอุโบสถ คือข้อใด ?
. หยุดพักการงาน . ขัดเกลากิเลส
. สงบสติอารมณ์ . ถูกทุกข้อ

๔๓. วิธีรักษาอุโบสถก่อนพุทธกาลทำอย่างไร ?
. เปล่งวาจาสมาทาน . อธิษฐานอุโบสถเอง
. รับโอวาท ๓ ข้อ . รับจากพระปัจเจกพุทธเจ้า

๔๔. เมื่อรักษาอุโบสถศีลข้อที่ ๗ ห้ามกระทำสิ่งใด ?
. ร้องเพลง . แต่งหน้าทาปาก
. ฟ้อนรำ . ถูกทุกข้อ
๔๕. สมาทานอุโบสถศีลโดยวิธีใด จึงถูกต้อง ?
. เปล่งวาจาอธิษฐานเอง . สมาทานจากพระภิกษุ
. สมาทานจากคนที่รู้และเข้าใจ . ถูกทุกข้อ

๔๖ ข้อใด จำเป็นสำหรับผู้รักษาอุโบสถศีล ?
. ต้องไปรักษาศีลที่วัด . ต้องสมาทานศีลกับพระ
. ต้องเปล่งวาจาสมาทาน . ต้องสมาทานศีลทีละข้อ

๔๗. ความหมายแห่งการปฏิบัติธรรมที่แท้จริง คือข้อใด ?
. ฝึกใจให้ผ่องใส . เข้าป่าหาผู้วิเศษ
. ทิ้งบุตรธิดาได้ . ทิ้งมารดาบิดาได้

๔๘. ศีลข้อใด บัญญัติไว้สำหรับผู้รักษาอุโบสถเท่านั้น ?
. เว้นปาณาติบาต . เว้นอทินนาทาน
. เว้นอพรหมจรรย์ . เว้นมุสาวาท


๔๙. ศีลข้อใด ถือปฏิบัติได้ทั้งคนทั่วไปและผู้รักษาอุโบสถ ?
. เว้นปาณาติบาต . เว้นอพรหมจรรย์
. เว้นวิกาลโภชนา . เว้นการฟ้อนรำขับร้อง

๕๐. เพราะเหตุใด จึงห้ามผู้รักษาอุโบสถ ดูการละเล่นต่างๆ ?
. เสียเวลาทำกิน . เสียสุขภาพจิต
. เสียทรัพย์ . เป็นข้าศึกแก่กุศล

ผู้ออกข้อสอบ
:
.
พระเทพสุธี
วัดไตรธรรมาราม


.
พระราชปริยัติกวี
วัดปิตุลาธิราชรังสฤษดิ์


.
พระประสิทธิสุตคุณ
วัดสุทัศนเทพวราราม
ตรวจ/ปรับปรุง
:

สนามหลวงแผนกธรรม





Keine Kommentare: