ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม
ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์
ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๘
๑.
นักศึกษาควรมองโลก
โดยเปรียบเทียบกับอะไร ?
ก.
ยาพิษ ข.
ของมึนเมา
ค.
อาหารและยา ง.
ถูกทุกข้อ
๒.
พระพุทธองค์ตรัสเรียกคนไร้วิจารณญาณว่าอะไร
?
ก.
พวกอันธพาล ข.
พวกนอกลัทธิ
ค.
พวกบุรุษเปล่า ง.
พวกคนเขลา
๓.
พระองค์ตรัสเรียก
ผู้รู้โลกตามความเป็นจริงว่าอะไร
?
ก.
ผู้รู้ ข.
ผู้รู้โลกธรรม
ค.
ผู้รู้ทันเหตุการณ์ ง.
ผู้รู้พระไตรปิฎก
๔.
ทรงมีพุทธประสงค์ใด
จึงตรัสชวนให้มาดูโลกนี้
?
ก.
เพื่อไม่ให้หลง ข.
เพื่อให้เห็นคุณและโทษ
ค.
เพื่อไม่ให้มัวเมาติดอยู่ ง.
ถูกทุกข้อ
๕.
คนเช่นไร
ควรสงเคราะห์เข้าในคำว่า
“มาร” ?
ก.
คนเป็นศัตรูกัน ข.
คนขัดขวางการทำดี
ค.
คนอันธพาล
ง.
คนโกหกหลอกลวง
๖.
อะไรเรียกว่า
“บ่วงแห่งมาร” ?
ก.
อายตนะภายใน
ข. อายตนะภายนอก
ข. อายตนะภายนอก
ค.
โลภ
โกรธ หลง ง.
สิ่งที่ผูกใจให้ติดอยู่
๗. ทำอย่างไร จึงจะพ้นจากบ่วงแห่งมาร ?
ก. สำรวมอินทรีย์มิให้ความยินดีครอบงำ
ข. รักษาศีลให้บริสุทธิ์
ค. ปรับอารมณ์มิให้ขุ่นมัว
ง. หมั่นอ่านหนังสือธรรมะ
๘. ความไม่ดีในข้อใด จัดเป็นมาร ?
ก. ความโกรธทำลายล้าง
ข. ความเกียจคร้าน
ค. เจตสิกอันเศร้าหมองชักให้ใคร่
๗. ทำอย่างไร จึงจะพ้นจากบ่วงแห่งมาร ?
ก. สำรวมอินทรีย์มิให้ความยินดีครอบงำ
ข. รักษาศีลให้บริสุทธิ์
ค. ปรับอารมณ์มิให้ขุ่นมัว
ง. หมั่นอ่านหนังสือธรรมะ
๘. ความไม่ดีในข้อใด จัดเป็นมาร ?
ก. ความโกรธทำลายล้าง
ข. ความเกียจคร้าน
ค. เจตสิกอันเศร้าหมองชักให้ใคร่
๙. ปฏิบัติอย่างไร จึงจะตัดบ่วงแห่งมารได้ เป็นสมุจเฉทปหาน ?
ก. สำรวมอินทรีย์ ข. มนสิการกัมมัฏฐาน
ค. เจริญวิปัสสนา ง. เข้าฌานสมาบัติ
๑๐. คำว่า “สังขาร” ในปฏิปทาแห่งนิพพิทา หมายถึงอะไร ?
ก. สภาพที่ปรุงแต่งจิต ข. ปัญจขันธ์
ค. อินทรีย์ ง. อายตนะ
๑๑. ความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปแห่งสังขาร เป็นลักษณะแห่งอะไร ?
ก. อนิจจลักษณะ ข. ทุกขลักษณะ
ค. อนัตตลักษณะ ง. สัปปุริสลักษณะ
๑๒. ทุกข์เพราะหาเงินไม่พอใช้ จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก. สภาวทุกข์ ข. นิพัทธทุกข์
ค. วิปากทุกข์ ง. อาหารปริเยฏฐิทุกข์
๑๓. ทุกข์ไปด้วยกัน หรือทุกข์กำกับกัน อันได้ชื่อว่าสหคตทุกข์ ตรงกับข้อใด ?
ก. ขันธ์ ๕ ข. อายตนะ ๑๒
ค. อคติ ๔ ง. โลกธรรม ๘
๑๔. ทุกขขันธ์ อันเป็นทุกข์รวบยอด ได้แก่อะไร ?
ก. ความยึดมั่นปัญจขันธ์ ข. การหาเลี้ยงปัญจขันธ์
ค. การเยียวยาปัญจขันธ์ ง. ความหนักแห่งปัญจขันธ์
๑๕. ข้อใด จัดเป็นปกิณณกทุกข์ ?
ก. ความแก่ ข. ความเศร้าโศกเสียใจ
ค. ความหิวกระหาย ง. ความทะเลาะวิวาท
๑๖. สังขารเป็นอนัตตา โดยความเป็นสภาพหาเจ้าของมิได้ คือข้อใด ?
ก. นั่นมิใช่ของเรา ข. นั่นมิใช่เรา
ค. นั่นมิใช่ตัวของเรา ง. ถูกทุกข้อ
๑๗. เพราะอะไรปิดบังไว้ จึงไม่เห็นสังขารเป็นอนัตตา ?
ก. สำคัญว่าเที่ยง ข. สำคัญว่าไม่ใช่ของเรา
ค. สำคัญว่าเป็นสุข ง. สำคัญว่าเป็นกองเป็นก้อน
๑๘. ความเบื่อหน่ายเกิดจากปัญญานั้น ได้แก่เบื่อหน่ายอะไร ?
ก. เบื่อหน่ายทั่วไป ข. เบื่อหน่ายสังขาร
ค. เบื่อหน่ายปัญจขันธ์ ง. เบื่อหน่ายภพชาติ
๑๙. เมื่อจิตเบื่อหน่าย ย่อมเกิดอะไรขึ้น ?
ก. ความไม่ฟุ้งซ่าน ข. ความไม่หลง
ค. ความสิ้นกิเลส ง. ความสิ้นกำหนัด
๒๐. ข้อว่า “ธรรมยังความเมาให้สร่าง” นั้น เมาอะไร ?
ก. เมาสุราเมรัย ข. เมาสิ่งเสพติดให้โทษ
ค. เมาอายุ วัย ยศ ง. เมากิเลส ตัณหา ราคะ
๒๑. ข้อว่า “นำเสียซึ่งความระหาย” หมายความว่าอย่างไร ?
ก. กำจัดความหิวได้ ข. กำจัดความทุกข์ร้อนได้
ค. กำจัดตัณหาเสียได้ ง. กำจัดความยากจนได้
๒๒. ข้อใด มีความหมายตรงกับคำว่า “อาลัย” ?
ก. ความติดใจ ข. ความสูญเสีย
ค. ความเศร้าโศก ง. ความสมหวัง
๒๓. ข้อใด ไม่ใช่ความหมายของตัณหา ?
ก. ความอยาก ข. ความหงุดหงิด
ค. ความเพลิดเพลิน ง. ความปรารถนา
๒๔. วิกขัมภนวิมุตติ ความหลุดพ้นด้วยข่มไว้นั้น ข่มอะไร ?
ก. นิวรณ์ ข. โทสะ
ค. ตัณหา ง. กิเลส
๒๕. การบรรลุอริยผล ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว จัดเป็น...?
ก. เจโตวิมุตติ ข. ปัญญาวิมุตติ
ค. วิกขัมภนวิมุตติ ง. สมุจเฉทวิมุตติ
๒๖. ข้อใด ไม่ใช่สัมมาสังกัปปะ ?
ก. คิดลด ละ เลิกกาม ข. คิดลด ละ เลิกพยาบาท
ค. คิดลด ละ เลิกชีวิต ง. คิดลด ละ เลิกเบียดเบียน
๒๗. ข้อใด ไม่ใช่สัมมากัมมันตะ ?
ก. เว้นธุรกิจผิดกฎหมาย ข. เว้นเจรจาหลอกลวง
ค. เว้นลักฉ้อคอร์รัปชั่น ง. เว้นธุรกิจค้าประเวณี
๒๘. ข้อใด ไม่ใช่สัมมาวายามะ ?
ก. เพียรพยายามหนีปัญหา ข. เพียรหาวิธีป้องกันปัญหา
ค. เพียรพยายามระงับปัญหา ง. เพียรพัฒนาสิ่งดีงามขึ้นมา
๒๙. ข้อใด ไม่นับเข้าในสัมมาสติ ?
ก. เห็นโลกว่าเที่ยง ข. เห็นกายว่าเป็นสิ่งไม่งาม
ค. เห็นเวทนาว่าแปรปรวน ง. เห็นจิตว่ามีความเกิดดับ
๓๐. สัมมาสติ จัดเข้าในวิสุทธิข้อใด ?
ก. สีลวิสุทธิ ข. จิตตวิสุทธิ
ค. ทิฏฐิวิสุทธิ ง. กังขาวิตรณวิสุทธิ
๓๑. ข้อใด มีความหมายสอดคล้องกับสีลวิสุทธิ ?
ก. เบื่อหน่ายการอยู่ครองเรือน ข. ประกอบอาชีพสุจริต
ค. เห็นว่าทุกข์เป็นสิ่งมีอยู่จริง ง. สอดคล้องทั้ง ๓ ข้อ
๓๒. ข้อใด ไม่ใช่แนวคิดแบบวิถีพุทธ ?
ก. อยากได้สันติ ควรพอกพูนทางสันติ
ข. ผู้มุ่งสันติ ควรละผลประโยชน์ที่เป็นอามิส
ค. อยากให้เกิดสันติ ควรทำให้คนเลิกจน
ง. สันติภาพภายนอก เกิดจากสันติภาพภายใน
๓๓.
ข้อใด
จัดว่าสวนทางกับพระนิพพาน
?
ก.
วิมุตติ
หลุดพ้น ข.
วิสุทธิ
บริสุทธิ์
ค.
อรติ
ไม่ยินดี ง.
สันติ
สงบ
๓๔.
“ผู้เพ่งความสงบพึงละโลกามิสเสีย”
โลกามิสคืออะไร ?
ก.
กามคุณ ข.
กามฉันทะ
ค.
กามกิเลส ง.
กามราคะ
๓๕.
ปฏิบัติเช่นไร
ชื่อว่าปฏิบัติใกล้พระนิพพาน
?
ก.
ยินดีในสมถะ ข.
ยินดีในวิปัสสนา
ค.
เห็นโทษการครองเรือน ง.
เห็นภัยในความประมาท
๓๖.
ผู้มีจิตเป็นสมาธิตั้งมั่นดีแล้ว
ย่อมรู้เห็นอะไร ?
ก.
สภาพเป็นจริง ข.
ภพชาติ
ค.
อารมณ์
ง.
ตัวตน
๓๗.
กายคตาสติ
สติไปในกาย พึงกำหนดเห็นด้วยอาการอย่างไร
?
ก.
เห็นอาการ
๓๒ ข.
เห็นเป็นของน่าเกลียด
ค.
เห็นว่าไม่เที่ยง
ง.
เห็นว่าไม่มีตัวตน
๓๘.
กายคตาสตินั้น
เป็นคู่ปรับแก่นิวรณ์ใด ?
ก.
กามฉันทะ
ข.
ถีนมิทธะ
ค.
อุทธัจจกุกกุจจะ
ง.
วิจิกิจฉา
๓๙.
ผู้หมั่นเจริญเมตตา
ย่อมได้อานิสงส์อะไร ?
ก.
รักตัวเองมากขึ้น
ข.
รักผู้อื่นมากขึ้น
ค.
กำจัดโทสะเสียได้
ง.
รู้จักให้อภัยไม่จองเวร
๔๐.
วิธีแผ่กรุณา
ท่านสอนให้แผ่อย่างไร ?
ก.
ขอสัตว์จงเป็นสุขเถิด
ข.
ขอสัตว์จงพ้นจากทุกข์เถิด
ค.
ขอสัตว์อย่าจองเวรกัน
ง.
ขอสัตว์อย่าเบียดเบียนกัน
๔๑.
ข้อใด
เป็นวิธีแผ่มุทิตา ?
ก.
ขอสัตว์จงเป็นสุขเถิด
ข.
ขอสัตว์จงมีสุขยิ่งขึ้นไป
ค.
ขอสัตว์จงพ้นทุกข์
ง.
ขอสัตว์จงอย่ามีเวรกัน
๔๒.
ขณะกราบพระรัตนตรัย
๓ ครั้ง ควรมีสติระลึกถึงอะไร
?
ก.
พระรัตนตรัย
ข.
คุณพระรัตนตรัย
ค.
พระพุทธคุณ ง.
พระธรรมคุณ
๔๓.
การเจริญมรณัสสติว่า
“อวสฺสํ มยา มริตพฺพํ
เราต้องตายแน่” ควรเจริญในขณะใด
?
ก.
ขณะรดน้ำศพ ข.
ขณะฟังสวดพระอภิธรรม
ค. ขณะเผาศพ ง. เจริญได้ทุกขณะ
ค. ขณะเผาศพ ง. เจริญได้ทุกขณะ
๔๔.
เมื่อกล่าวบทว่า
“นโม ตสฺส ภควโต อรหโต
สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส” ควรมีสติกำหนดอะไร
จึงเป็นการเจริญกัมมัฏฐาน
?
ก.
พระพุทธคุณ
ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ
ง.
กำหนดจิตไม่ให้ฟุ้งซ่าน
๔๕.
ขณะรับบิณฑบาต
พระสงฆ์พึงเจริญกัมมัฏฐานอะไร
?
ก.
เมตตาพรหมวิหาร ข.
อาหาเรปฏิกูลสัญญา
ค.
ไม่ได้เจริญแต่สำรวมระวัง ง.
ไม่ได้เจริญแต่สวดให้พร
๔๖.
พระสงฆ์ออกเดินธุดงค์ไปในที่ต่างๆ
เพื่อจุดประสงค์ใด ?
ก.
เพื่อขัดเกลากิเลส
ข.
เพื่อไม่ติดที่และบุคคล
ค.
เพื่อเผยแผ่ธรรม ง.
ถูกทุกข้อ
๔๗.
พระธุดงค์ประเภทใด
ถือว่าปฏิบัติไม่ถูกต้อง
?
ก.
นำวัตถุมงคลไปแจก
ข.
ดูหมอ
ให้หวย
ค.
ปักกลดย่านชุมชน
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๘.
คำว่า
“ทำงานด้วยจิตว่าง” นั้น
หมายถึงทำอย่างไร ?
ก.
เจริญกัมมัฏฐานไปด้วย ข.
ไม่ให้ถูกความโกรธครอบงำ
ค.
ทำจิตให้ปราศจากอารมณ์ ง.
ทำงานอย่างมีสติ
๔๙.
คำว่า
“จิตว่าง” นั้น หมายถึงว่างจากอะไร
?
ก.
อารมณ์ ข.
นิวรณ์
ค.
ความเครียด ง.
ความกังวล
๕๐.
อะไรเป็นผลสูงสุดของวิปัสสนา
?
ก.
เห็นสังขารตามเป็นจริง
ข.
เห็นสังขารเกิดดับ
ค.
เห็นสังขารน่ากลัว ง.
เห็นสังขารเป็นทุกข์
ผู้ออกข้อสอบ
|
:
|
๑.
|
พระเทพวิสุทธิกวี
|
วัดราชาธิวาส
|
๒.
|
พระราชพัชราภรณ์
|
วัดมหาธาตุ
|
||
๓.
|
พระราชสุตกวี
|
วัดสุทัศนเทพวราราม
|
||
ตรวจ/ปรับปรุง
|
:
|
สนามหลวงแผนกธรรม
|
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen