ปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ
ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์
ที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๘
๑.
พระพุทธศาสนาสอนว่า
สิ่งที่สามารถทำให้คนกลายสภาพเป็นสัตว์
หรือเทวดาได้ คืออะไร
?
ก.
เทพเจ้า ข.
ดวงชะตา
ค.
กรรม ง.
พรหมลิขิต
๒.
กรรมที่จะนำสัตว์ไปสู่ทุคติและสุคตินั้น
เรียกว่าอะไร ?
ก.
กรรมลิขิต ข.
กรรมบถ
ค.
วิบากกรรม ง.
กรรมคติ
๓.
การได้ไปเกิดเป็นมนุษย์
เทวดา พรหม เรียกว่าอะไร ?
ก.
สุคติ ข.
ทุคติ
ค.
ภพ ง.
ภูมิ
๔.
ในการทำความดีและความชั่ว
มีอะไรเป็นใหญ่ ?
ก.
เจตนา ข.
เหตุจูงใจ
ค.
สิ่งล่อใจ ง.
อารมณ์
๕.
“ทำความดีอย่ารู้ร้าง
สร้างกุศลอย่ารู้โรย”
มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
กุศลมูล ข.
อกุศลมูล
ค.
กุศลกรรมบถ ง.
อกุศลกรรมบถ
๖.
การประพฤติผิดในกาม
เกิดขึ้นโดยการกระทำทางใด
?
ก.
ทางกาย ข.
ทางวาจา
ค.
ทางใจ ง.
ทั้ง
๓ ทาง
๗.
โลภอยากได้ของเขา
เป็นกรรมชนิดใด ?
ก.
กายกรรม ข.
วจีกรรม
ค.
มโนกรรม ง.
ถูกทุกข้อ
๘.
ข้อใด
เป็นกายกรรมที่เกิดทางวาจา
?
ก.
พูดเชิญชวน ข.
พูดเกี้ยวหญิง
ค.
พูดหยาบคาย ง.
สั่งให้เขาลักทรัพย์
๙.
การสั่นศีรษะปฏิเสธ
เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจผิด
จัดเป็นกรรมชนิดใด ?
ก.
กายกรรม
เกิดทางวจีทวาร ข.
วจีกรรม
เกิดทางกายทวาร
ค.
มโนกรรม
เกิดทางกายทวาร ง.
กายกรรม
เกิดทางกายทวาร
๑๐.
การกระทำความชั่ว
มีอะไรเป็นมูล ?
ก.
กุศลมูล ข.
อกุศลมูล
ค.
กุศลจิต ง.
อกุศลจิต
๑๑.
บุคคลที่เบียดเบียนสัตว์
จะมีผลกรรมตรงกับข้อใด ?
ก.
มีอุปสรรคมาก ข.
เจ็บไข้ได้ป่วย
ข.
ชักหน้าไม่ถึงหลัง ง.
มีอายุสั้น
๑๒.
อทินนาทาน
ถึงความเป็นกรรมบถเมื่อใด
?
ก.
ของนั้นมีเจ้าของหวง ข.
รู้ว่าของมีเจ้าของหวง
ค.
มีจิตคิดจะลัก ง.
ลักมาได้ด้วยความพยายาม
๑๓.
อทินนาทาน
มีความหมายตามข้อใด ?
ก.
การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของทิ้ง ข.
การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ให้
ค.
การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่หวง ง.
การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่สนใจ
๑๔.
ข้อใด
เป็นความหมายของกาเมสุมิจฉาจาร
?
ก.
การนอกใจคู่ครองของตน
ข.
การล่วงละเมิดคู่ครองของคนอื่น
ค.
การล่วงละเมิดในฐานะที่ไม่ควรละเมิด
๑๕.
การพูดเอาดีใส่ตัวเอาชั่วใส่ผู้อื่น
เรียกว่าอะไร ?
ก.
พูดเท็จ ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดคำหยาบ ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๑๖.
ข้อใด
ไม่เป็นปิสุณวาจา ?
ก.
พูดให้เพื่อนรักตน ข.
พูดให้เพื่อนเกลียดกัน
ค.
พูดทำลายความสามัคคี ง.
พูดให้เพื่อนเลิกคบคนชั่ว
๑๗.
พูดคำหยาบ
ตรงกับข้อใด ?
ก.
ปิสุณวาจา ข.
ผรุสวาจา
ค.
ปิยวาจา ง.
มุสาวาท
๑๘.
ผรุสวาจา
เกิดจากอกุศลมูลข้อใด ?
ก.
โลภมูล-โทสมูล ข.
โทสมูล-โมหมูล
ค.
โลภมูล-โมหมูล ง.
โมหมูลอย่างเดียว
๑๙.
พูดเรื่องเช่นไร
เรียกว่าพูดเพ้อเจ้อ ?
ก.
เรื่องการเรียน ข.
เรื่องการออกกำลังกาย
ค.
เรื่องส่วนตัวคนดัง ง.
เรื่องโรคติดต่อร้ายแรง
๒๐.
ที่เรียกว่าอภิชฌานั้น
คือข้อใด ?
ก.
เจตนาเป็นเหตุละโมบ ข.
เจตนาเป็นเหตุคิดร้าย
ค.
เจตนาเป็นเหตุงมงาย ง.
เจตนาเป็นเหตุปองร้าย
๒๑.
ข้อใด
จัดเป็นมิจฉาทิฏฐิ ?
ก.
เจตนาเป็นเหตุเห็นผิด ข.
เจตนาเป็นเหตุเพ่งเล็ง
ค.
เจตนาเป็นเหตุเสียสละ ง.
เจตนาเป็นเหตุปองร้าย
๒๒.
ข้อใด
จัดเป็นมโนกรรมล้วน ?
ก.
อภิชฌา,
พยาบาท,
มิจฉาทิฏฐิ
ข.
อภิชฌา,
มิจฉาทิฏฐิ,
สัมผัปลาป
ค.
พูดเท็จ,
พูดส่อเสียด,
พูดคำหยาบ
ง.
ฆ่าสัตว์,
ลักทรัพย์,
ประพฤติผิดในกาม
๒๓.
สัตวโลกชนิดใด
ต่ำกว่ามนุษย์ ?
ก.
สัตว์ดิรัจฉาน ข.
เปรต
ค. อสุรกาย ง. ถูกทุกข้อ
ค. อสุรกาย ง. ถูกทุกข้อ
๒๔.
เพื่อพัฒนาชีวิตของตนให้พ้นปัญหา
ควรปฏิบัติตามข้อใด ?
ก.
บูชาราหู ข.
ทำพิธีตัดกรรม
ค.
ทำพิธีเสริมดวงชะตา ง.
ไม่ประพฤติอกุศลกรรมบถ
๒๕.
ข้อใด
เป็นทั้งอกุศลกรรมบถและอกุศลมูล
?
ก.
อภิชฌา ข.
ปาณาติบาต
ค.
ผรุสวาจา ง.
มิจฉาทิฏฐิ
๒๖.
ข้อใด
เป็นอารมณ์คือเหตุจูงใจให้เกิดอภิชฌา
?
ก.
มนุษย์
ข.
สัตว์
ค.
สมบัติคนอื่น ง.
ถูกทุกข้อ
๒๗.
ข้อใด
เข้าข่ายมิจฉาทิฏฐิ ?
ก.
ไม่เชื่อประเพณี ข.
ไม่เชื่อฟังครู
ค.
ไม่เชื่อตำรา ง.
ไม่เชื่อศีลธรรม
๒๘.
พูดส่อเสียด
หมายถึงข้อใด ?
ก.
พูดแซงผู้ใหญ่ ข.
พูดให้แตกสามัคคี
ค.
พูดทะลุกลางปล้อง ง.
พูดให้รำคาญ
๒๙.
ผรุสวาจาข้อใด
เป็นกรรมบถ ?
ก.
พูดเหน็บให้เจ็บใจ ข.
ฝนตกก็แช่ง
ค.
ฝนแล้งก็ด่า ง.
นินทาชาวบ้าน
๓๐.
คำพูดใด
ตรงกับคำว่า “น้ำท่วมทุ่งผักบุ้งโหรงเหรง”
?
ก.
มุสาวาท ข.
ปิสุณวาจา
ค.
ผรุสวาจา ง.
สัมผัปลาป
๓๑.
มุสาวาทเป็นวจีกรรม
เพราะ…..
?
ก.
เกิดทางวจีทวารโดยมาก ข.
เกิดทางวจีทวารอย่างเดียว
ค.
ไม่เกิดขึ้นทางกายทวาร ง.
ไม่เกิดทางมโนทวาร
๓๒.
ความโกรธใด
เป็นพยาบาทที่ถึงกรรมบถ ?
ก.
โกรธว่าเขาด่าตน ข.
โกรธว่าเขาทำร้ายตน
ค.
โกรธว่าเขาโกงตน ง.
โกรธแล้วคิดแช่งให้เขาตาย
๓๓.
ความเห็นของใคร
จัดเป็นมิจฉาทิฏฐิ ?
ก.
ดำเห็นว่ายาบ้าทำให้ขยัน ข.
แดงเห็นว่าเรียนไปก็ไร้ค่า
ค.
ขาวเห็นว่าการพนันรวยเร็ว
ง.
เหลืองเห็นว่าโกหกครูไม่บาป
๓๔.
กุศลกรรมบถจัดเข้าในข้อใด
?
ก.
ศีล
ข.
สมาธิ
ค.
ปัญญา
ง.
ภาวนา
๓๕.
พูดแต่คำมีประโยชน์
ชื่อว่าประพฤติกุศลกรรมบถข้อใด
?
ก.
เว้นขาดจากมุสาวาท ข.
เว้นขาดจากปิสุณวาจา
ค. เว้นขาดจากผรุสวาจา ง. เว้นขาดจากสัมผัปลาป
ค. เว้นขาดจากผรุสวาจา ง. เว้นขาดจากสัมผัปลาป
๓๖.
คำพูดในข้อใด
ตรงกับสำนวนว่า “น้ำร้อนปลาเป็น”
?
ก.
พูดเพราะ
แต่มุ่งร้าย ข.
พูดไม่เพราะ
แต่หวังดี
ค.
พูดเพราะและหวังดี ง.
พูดไม่เพราะและมุ่งร้าย
๓๗.
“พูดอย่างมะนาวไม่มีน้ำ”
ประพฤติผิดกุศลกรรมบถข้อใด
?
ก.
เว้นขาดจากมุสาวาท ข.
เว้นขาดจากปิสุณวาจา
ค. เว้นขาดจากผรุสวาจา ง. เว้นขาดจากสัมผัปลาป
ค. เว้นขาดจากผรุสวาจา ง. เว้นขาดจากสัมผัปลาป
๓๘.
เครื่องมือสำหรับทำความดีที่สำคัญที่สุดของมนุษย์
คือข้อใด ?
ก.
กาย
วาจา ใจ ข.
สถานที่
ค.
กัลยาณมิตร ง.
ทรัพย์
๓๙.
ผู้สนใจใฝ่ศึกษาหาความรู้
ชื่อว่ามี…..
?
ก.
ทานุปนิสัย ข.
สีลุปนิสัย
ค.
ภาวนุปนิสัย ง.
อุปนิสัย
๔๐.
พระพุทธศาสนา
แสดงการประพฤติธรรมทางกายไว้กี่ประการ
?
ก.
๕
ประการ ข.
๔ ประการ
ค.
๓
ประการ ง.
๒ ประการ
๔๑.
ลักทรัพย์ชนิดใด
มีโทษมากที่สุด ?
ก.
ของส่วนตัว ข.
ของส่วนรวม
ค.
ของมีขนาดเล็ก ง.
ของไหว้เจ้า
๔๒.
พูดเท็จอย่างไร
ชื่อว่ามีโทษมาก ?
ก.
พูดเรื่องสนุกสนาน ข.
พูดให้เขาเข้าใจผิด
ค.
พูดเล่านิทานโกหก ง.
พูดหลอกเด็กให้กลัว
๔๓.
“เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร”
ประพฤติกุศลกรรมบถข้อใด
จึงจะบรรลุผลตามนี้ ?
ก.
เว้นจากปาณาติบาต ข.
เว้นจากอภิชฌา
ค.
เว้นจากพยาบาท ง.
เว้นจากมิจฉาทิฏฐิ
๔๔.
ข้อใด
เป็นเพราะวิบากกรรมของมุสาวาทเมื่อชาติปางก่อน
?
ก.
ถูกใส่ร้ายป้ายสี ข.
ถูกโกหกหลอกลวง
ค.
ได้ยินแต่คำพูดสะเทือนใจ ง.
มีแต่ความขัดแย้งกับคนอื่น
๔๕.
คิดปองร้ายในข้อใด
ไม่จัดเป็นพยาบาท ?
ก.
คน ข.
สัตว์
ค.
สิ่งของ ง.
ถูกทุกข้อ
๔๖.
ผู้ทำบาปประเภทใด
ต้องตกนรก ?
ก.
ทำบาปเอง ข.
ชักชวนคนอื่นให้ทำบาป
ค.
ยินดีกับคนทำบาป ง.
ตกนรกทั้ง
๓ ประเภท
๔๗.
คนประเภทใด
ได้ชื่อว่าชั่วมากกว่า ?
ก.
ฆ่าสัตว์เอง ข.
ชักชวนให้คนอื่นฆ่า
ค.
ยินดีกับผู้ฆ่า ง.
ทั้งฆ่าเอง
ทั้งชักชวนคนอื่น
๔๘.
ผู้ปรารถนามรรค
ผล นิพพาน ควรประพฤติเช่นไร
?
ก.
เข้าป่าหนีหน้ามนุษย์ ข.
สละทรัพย์สินทั้งหมด
ค.
ประพฤติกุศลกรรมบถ ง.
รับประทานแต่ผักผลไม้
๔๙.
“ทำนาบนหลังคน”
ชื่อว่าประพฤติผิดกุศลกรรมบถข้อใด
?
ก.
เว้นขาดจากอภิชฌา ข.
เว้นขาดจากพยาบาท
ค.
เว้นขาดจากมุสาวาท ง.
เว้นขาดจากอทินนาทาน
๕๐.
ผู้ประพฤติกุศลกรรมบถประเภทใด
ได้ทั้งทรัพย์สมบัติและบริวารสมบัติ
?
ก.
ประพฤติกุศลกรรมบถเอง ข.
ชักชวนให้คนอื่นประพฤติ
ค.
ทั้งประพฤติเอง
ทั้งชักชวนคนอื่น ง.
ทั้งไม่ประพฤติเอง
ทั้งไม่ชักชวนคนอื่น
ผู้ออกข้อสอบ
|
:
|
๑.
|
พระราชรัตนมุนี
|
วัดพระปฐมเจดีย์
|
|
|
๒.
|
พระสิรินันทเมธี
|
วัดบพิตรพิมุข
|
ตรวจ/ปรับปรุง
|
:
|
|
สนามหลวงแผนกธรรม
|
|
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen