ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม
ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่
๑๐
พฤศจิกายน
พ.ศ.
๒๕๔๙
เวลา
๑๓.๐๐
น.
คำสั่ง
:
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ
ให้เวลา
๕๐
นาที
(๑๐๐
คะแนน)
-------------------------
๑.
ข้อใด
เป็นวิธีปฏิบัติทำให้จิตผ่องใส
?
ก.
ไหว้พระสวดมนต์ ข.
เจริญกัมมัฏฐาน
ค.
เดินจงกรม ง.
ถูกทุกข้อ
๒.
ข้อใด
เป็นผลของการเจริญกัมมัฏฐาน
?
ก.
สุขภาพจิตดี ข.
หลับตื่นเป็นสุข
ค.
ทำงานอย่างมีสติ ง.
ถูกทุกข้อ
๓.
เมื่อกล่าวบทว่า
“อรหํ
สมฺมาสมฺพุทฺโธ
…”
ควรระลึกถึงอะไร
?
ก.
พระพุทธคุณ ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ ง.
พระรัตนตรัย
๔.
บทว่า
“สฺวากฺขาโต
ภควตา
ธมฺโม
…”
ควรระลึกถึงอะไร
?
ก.
พระพุทธคุณ ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ
ง.
พระรัตนตรัย
๕.
บทว่า
“สุปฏิปนฺโน
ภควโต
…”
ควรระลึกถึงอะไร
?
ก.
พระพุทธคุณ ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ ง.
พระรัตนตรัย
๖.
พระสังฆรัตนะ
หมายถึงพระสงฆ์ประเภทใด
?
ก.
สมมุติสงฆ์ ข.
อริยสงฆ์
ค.
พระอรหันต์
ง.
ถูกทุกข้อ
๗.
จักรู้แจ้งสรรพสิ่งตามความเป็นจริง
ต้องเจริญอะไร
?
ก.
กัมมัฏฐาน
ข.
สมถกัมมัฏฐาน
ค.
วิปัสสนากัมมัฏฐาน ง.
อนุสสติกัมมัฏฐาน
๘.
รู้อย่างไร
จึงเรียกว่ารู้ตามความเป็นจริง
?
ก.
รู้ว่าไม่เที่ยง ข.
รู้ว่าเป็นทุกข์
ค.
รู้ว่าเป็นอนัตตา ง.
รู้ว่าเป็นไตรลักษณ์
๙.
กาม
มีโทษโดยรวมแก่สัตว์โลกอย่างไร
?
ก.
ทำให้ข้องอยู่ในโลก ข.
ทำให้รบราฆ่าฟันกัน
ค.
ทำให้เห็นแก่ตัว ง.
ทำให้แข่งขันกันในโลก
๑๐.
คำว่า
“อิจฉาริษยา”
มาจากคำบาลีใด
?
ก.
ราคะ ข.
โทสะ
ค.
อิจฉา ง.
อิสสา
๑๑.
บูชาอย่างไหน
พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นเลิศของการบูชา
?
ก.
อามิสบูชา ข.
ปฏิบัติบูชา
ค.
สักการบูชา ง.
ธรรมบูชา
๑๒.
“ปูชนียบุคคล”
ในเรื่องบูชา
๒
หมายถึงบุคคลเช่นไร
?
ก.
คนดีมีเมตตา ข.
คนดีของสังคม
ค.
คนที่ควรบูชายกย่อง ง.
คนปฏิบัติธรรม
๑๓.
ศิษย์ปฏิบัติต่อครูอาจารย์อย่างไร
จึงเรียกว่าปฏิบัติบูชา
?
ก.
จัดพิธีไหว้ครูทุกปี ข.
ให้ของขวัญวันเกิด
ค.
ปฏิบัติยามเจ็บไข้ ง.
ปฏิบัติตามคำสอน
๑๔.
เมื่อมีผู้มาเยือน
ควรปฏิสันถารอย่างไร
?
ก.
ต้อนรับให้ควรแก่ฐานะ
ข.
แนะนำประโยชน์ให้
ค.
ถามถึงธุระที่มาเยือน
ง.
รู้หน้าไม่รู้ใจไม่เปิดประตู
๑๕.
ผู้ถูกกามวิตกครอบงำ
มักมีพฤติกรรมเช่นไร
?
ก.
อยากได้ของคนอื่น ข.
โกงเมื่อมีโอกาส
ค.
เห็นแก่ตัวเห็นแก่ได้ ง.
ถูกทุกข้อ
๑๖.
จะบรรเทากามวิตกนั้น
ด้วยวิธีใด
?
ก.
หมั่นแผ่เมตตา ข.
หมั่นบริจาค
ค.
หมั่นเข้าวัด ง.
หมั่นฟังธรรม
๑๗.
ผู้ถูกพยาบาทวิตกครอบงำ
มักมีพฤติกรรมเช่นไร
?
ก.
ลอบยิงด้วยปืน ข.
ลอบวางระเบิด
ค.
ดักฆ่ากลางทาง
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๘.
จะบรรเทาพยาบาทวิตกนั้น
ด้วยวิธีใด
?
ก.
แผ่เมตตา
-
ให้อภัย ข.
แผ่กรุณา
-
ให้อภัย
ค.
แผ่มุทิตา
-
ให้อภัย ง.
วางอุเบกขา
-
ให้อภัย
๑๙.
“ปล่อยเงินกู้
คิดดอกแพง”
สงเคราะห์เข้าในอกุศลวิตกใด
?
ก.
กามวิตก ข.
พยาบาทวิตก
ค.
วิหิงสาวิตก ง.
ข้อ
ก.
และ
ค.
ถูก
๒๐.
คนที่ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ
เพราะถูกไฟชนิดใดแผดเผา
?
ก.
ไฟคือราคะ ข.
ไฟคือโทสะ
ค.
ไฟคือโมหะ ง.
ไฟคือตัณหา
๒๑.
คนที่มักโกรธ
มักมีอารมณ์เสีย
เพราะถูกไฟชนิดใดแผดเผา
?
ก.
ไฟคือราคะ ข.
ไฟคือโทสะ
ค.
ไฟคือโมหะ ง.
ไฟทั้ง
๓
ชนิด
๒๒.
คนถูกไฟคือราคะแผดเผา
มักมีพฤติกรรมเช่นไร
?
ก.
ละเมิดทางเพศ ข.
ยกพวกตีกัน
ค.
เครียดหงุดหงิด ง.
ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
๒๓.
ประชาธิปไตยที่แท้จริง
มุ่งประโยชน์ของใคร
?
ก.
ของชาติ ข.
ของประชาชน
ค.
ของสังคม ง.
ของพรรคการเมือง
๒๔.
ประชาธิปไตยล้มเหลว
เพราะขาดอธิปเตยยะข้อใด
?
ก.
อัตตาธิปเตยยะ ข.
โลกาธิปเตยยะ
ค.
ธัมมาธิปเตยยะ ง.
อนาธิปเตยยะ
๒๕.
“แย่งอำนาจกันครอง”
จัดเป็นตัณหาอะไร
?
ก.
กามตัณหา ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา ง.
กิเลสตัณหา
๒๖.
“พอสมหวังเป็นสุข
ไม่นานก็เป็นทุกข์
อยากได้สูงยิ่งขึ้นไปอีก”
จัดเป็น
ตัณหาข้อใด
?
ก.
กามตัณหา
ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา ง.
ถูกทุกข้อ
๒๗.
“รักษากายไม่ให้วิปริต
รักษาจิตอย่าให้วิปลาส
วาจามีศีลสุขล้ำ”
ชื่อว่า
ปฏิบัติตามข้อใด
?
ก.
วินัยปิฎก
ข.
สุตตันตปิฎก
ค.
อภิธรรมปิฎก ง.
ทั้งสามปิฎก
๒๘.
การเล่าเรียนพระพุทธพจน์
คือพระไตรปิฎก
จัดเป็นสัทธรรมใด
?
ก.
ปริยัติ ข.
ปฏิบัติ
ค.
ปฏิเวธ ง.
ถูกทุกข้อ
๒๙.
การช่วยเหลือผู้ประสบภัย
สงเคราะห์เข้าในพุทธจริยาใด
?
ก.
พุทธัตถจริยา ข.
ญาตัตถจริยา
ค.
โลกัตถจริยา
ง.
อัตตัตถจริยา
๓๐.
อาการเช่นไรเรียกว่า
“วัฏฏะ”
?
ก.
การเวียนเทียน ข.
การเวียนว่ายตายเกิด
ค.
การแก่
เจ็บ
ตาย ง.
การเวียนศพรอบเมรุ
๓๑.
“ให้ทุกข์แก่ท่าน
ทุกข์นั้นถึงตัว”
มีความหมายตรงกับวัฏฏะใด
?
ก.
กิเลส ข.
กรรม
ค.
วิบาก ง.
ถูกทุกข้อ
๓๒.
การฝึกฝนพัฒนาในข้อใด
จัดเป็นจิตตสิกขา
?
ก.
รักษาจิตให้มีสิกขา ข.
รักษาจิตให้อยู่ในอำนาจ
ค.
รักษาจิตให้รู้แจ้งธรรม ง.
รักษาจิตให้หมดตัณหา
๓๓.
เมื่อเกิดอารมณ์โกรธผู้อื่น
ควรปฏิบัติอย่างไร
?
ก.
รีบไปทำกิจอื่นก่อน
ข.
ตั้งสติแผ่เมตตา
ค.
อดกลั้นหายใจลึกๆ ง.
ถูกทุกข้อ
๓๔.
ควรปฏิบัติต่อคนที่โกรธเราอย่างไร
?
ก.
อดกลั้นไม่โกรธตอบ
ข.
แผ่เมตตาให้เสมอ
ค.
หมั่นทำดีให้
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๕.
เมตตา
ควรแผ่ให้แก่สัตว์จำพวกใด
?
ก.
สัตว์ทุกจำพวก
ข.
สัตว์ผู้ประสบทุกข์
ค.
สัตว์ผู้ประสบสุข
ง.
สัตว์ที่ตายแล้ว
๓๖.
กรุณา
ควรแผ่ให้แก่สัตว์จำพวกใด
?
ก.
สัตว์ทุกจำพวก ข.
สัตว์ผู้ประสบทุกข์
ค.
สัตว์ผู้ประสบสุข ง.
สัตว์ผู้ใกล้ตาย
๓๗.
จะแก้โรคริษยาด้วยวิธีใด
?
ก.
หมั่นเจริญเมตตา ข.
หมั่นเจริญกรุณา
ค.
หมั่นเจริญมุทิตา ง.
หมั่นเจริญอุเบกขา
๓๘.
คนมีจิตตระหนี่เห็นแก่ตัว
ควรฟังอนุปุพพีกถาข้อใด
?
ก.
ทานกถา
ข.
สีลกถา
ค.
สัคคกถา
ง.
กามาทีนวกถา
๓๙.
อนุปุพพีกถาข้อใด
ส่งเสริมให้ไม่ฆ่าและไม่เบียดเบียนกัน
?
ก.
ทานกถา ข.
สีลกถา
ค.
สัคคกถา ง.
ข้อ
ก.
และ
ข.
ถูก
๔๐.
ผู้ประกอบด้วยวัณณมัจฉริยะ
มักมีพฤติกรรมเช่นไร
?
ก.
เห็นแก่ตัว ข.
กลัวคนอื่นจะดีกว่า
ค.
ปากว่าตาขยิบ ง.
ชอบมุบมิบเป็นของตัว
๔๑.
คนสัทธาจริต
มักชอบเชื่อข่าวลือ
ควรแก้ด้วยวิธีใด
?
ก.
ฟังหลาย
ๆ
ด้าน
ข.
คบหาบัณฑิต
ค.
พิจารณาหาเหตุผล
ง.
หมั่นฟังเทศน์
๔๒.
คนไม่รู้จริง
ไม่วิเคราะห์
แต่ชอบวิจารณ์
จัดเป็นคนจริตอะไร
?
ก.
สัทธาจริต ข.
วิตกจริต
ค.
พุทธิจริต ง.
โมหจริต
๔๓.
พิจารณาเห็นร่างกายไม่งาม
ปฏิกูลเหมือนซากศพ
ช่วยบรรเทาจริต
อะไรได้
?
ก.
ราคจริต ข.
โทสจริต
ค.
โมหจริต ง.
วิตกจริต
๔๔.
ผู้มีความรู้คู่คุณธรรม
เก่ง
ดี
ไม่โกง
อนุโลมตามพุทธคุณใด
?
ก.
สมฺมาสมฺพุทฺโธ ข.
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ค.
สุคโต
โลกวิทู ง.
สตฺถา
เทวมนุสฺสานํ
๔๕.
เมื่อพบพระสงฆ์ในที่ใด
ควรทำความเคารพแล้วระลึกถึง
… ?
ก.
พระพุทธคุณ ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ ง.
ขอให้พระคุ้มครองตน
๔๖.
ข้อใด
เป็นผลของทานบารมี
?
ก.
มีปัญญามาก ข.
มีบริวารมาก
ค.
มีอายุยืน ง.
มีรูปงาม
๔๗.
คนที่ตั้งใจแน่วแน่
จะไม่เสพสิ่งเสพติด
ชื่อว่าบำเพ็ญบารมีใด
?
ก.
ขันติบารมี
ข.
สีลบารมี
ค.
อุเบกขาบารมี
ง.
อธิษฐานบารมี
๔๘.
“รุดไปข้างหน้า
ดีกว่านั่งเต๊ะท่าอยู่กับที่”
หมายถึงบารมีใด
?
ก.
ปัญญาบารมี ข.
วิริยบารมี
ค.
สัจจบารมี ง.
ขันติบารมี
๔๙.
ผู้พลีชีพเพื่อชาติ
จัดว่าบำเพ็ญบารมีใด
?
ก.
ทานบารมี ข.
ทานอุปบารมี
ค.
ทานปรมัตถบารมี ง.
เมตตาบารมี
๕๐.
“โชติ
โชติปรายโน
สว่างมาสว่างไป”
มีความหมายตรงกับข้อใด
?
ก.
ชนกกรรม ข.
อุปัตถัมภกกรรม
ค.
อุปปีฬกกรรม ง.
อุปฆาตกกรรม
***
*** ***
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen