ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ
ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์
ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๙
เวลา ๑๔.๐๐ น.
เวลา ๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง
:
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
---------------------
๑.
การศึกษาพุทธานุพุทธประวัติ
มีประโยชน์อย่างไร ?
ก.
รู้ความเป็นไป ข.
รู้ปฏิปทาจริยาวัตร
ค.
ได้ทิฏฐานุคติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒.
ไตรเพท
เป็นคัมภีร์การศึกษาของวรรณะใด
?
ก.
กษัตริย์ ข.
พราหมณ์
ค.
แพศย์ ง.
ศูทร
๓.
เพราะเหตุใด
คนชมพูทวีปสมัยนั้น
จึงมีทิฏฐิความเห็นที่แตกต่างกัน
?
ก.
มีคณาจารย์มากมาย ข.
มีการสอนลัทธิต่างกัน
ค.
มีการแบ่งชั้นวรรณะ ง.
ถูกทุกข้อ
๔.
ความเห็นว่า
ตายแล้วสูญ จัดเป็นทิฏฐิประเภทใด
?
ก.
อเหตุกทิฏฐิ ข.
นัตถิกทิฏฐิ
ค.
อุจเฉททิฏฐิ ง.
สัสสตทิฏฐิ
๕.
ตามลัทธิพราหมณ์
เชื่อว่าผู้ไม่มีบุตร
จะมีคติเป็นอย่างไร ?
ก.
ตายแล้วสูญ ข.
ตายแล้วตกนรก
ค.
ตายแล้วเกิดในสุคติ ง.
มีคติไม่แน่นอน
๖.
พระเจ้าสุทโธทนะ
ทรงครองราชย์สืบสันตติวงศ์ต่อจากใคร
?
ก.
พระเจ้าโอกกากราช ข.
พระเจ้าชยเสนะ
ค.
พระเจ้าสีหหนุ ง.
พระเจ้าอัญชนะ
๗.
พระอนุชาต่างมารดาของเจ้าชายสิทธัตถะ
มีพระนามว่าอะไร ?
ก.
อานนท์ ข.
นันทะ
ค.
นันทกะ ง.
มหานามะ
๘.
พระเจ้าสีหหนุและพระนางกัญจนา
เป็นอะไรกับเจ้าชายสิทธัตถะ
?
ก.
ตา
ยาย ข.
ปู่
ย่า
ค.
ลุง
ป้า ง.
พ่อตา
แม่ยาย
๙.
ข้อใด
ไม่ใช่บุพพนิมิต ๕ ประการ
ที่ปรากฏแก่พระมหาสัตว์ ?
ก.
ทิพยภูษาที่ห่มมีสีเศร้าหมอง
ข.
พระสรีระมีอาการชราปรากฏ
ค.
พระเสโทไหลจากพระนลาฏ
ง.
ทิพยบุปผาที่ประดับเหี่ยวแห้ง
๑๐.
พระนางสิริมหามายาเสด็จไปเทวทหนคร
เพราะเหตุใด ?
ก.
บวงสรวงเทวดา ข.
ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
ค.
เยี่ยมสกุลวงศ์ ง.
เยี่ยมมารดาบิดา
๑๑.
พระวาจาว่า
“เราเป็นเลิศ เป็นหนึ่ง
ประเสริฐสุดในโลก” เรียกว่า...?
ก.
สัจจวาจา ข.
มธุรวาจา
ค.
ปิยวาจา ง.
อาสภิวาจา
๑๒.
พระมหาสัตว์มีพระรัศมีออกจากพระวรกาย
จึงมีพระนามว่า...
?
ก.
อรหันต์ ข.
โคตมะ
ค.
อังคีรส ง.
สิทธัตถะ
๑๓.
ใครมิใช่เป็นสหชาติกับเจ้าชายสิทธัตถะ
?
ก.
อานนท์ ข.
อุบาลี
ค.
กาฬุทายี ง.
พิมพา
๑๔.
ราหุลํ
ชาตํ พนฺธนํ ชาตํ มีความหมายว่าอย่างไร
?
ก.
บ่วง
พันธะ ผูกแล้ว ข.
บ่วง
พันธะ รัดแล้ว
ค.
บ่วง
พันธะ เกิดแล้ว ง.
บ่วง
พันธะ ดับแล้ว
๑๕.
ต้นพระศรีมหาโพธิที่ตรัสรู้
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
?
ก.
อัสสัตถพฤกษ์ ข.
ชมพูพฤกษ์
ค.
ราชพฤกษ์ ง.
ชัยพฤกษ์
๑๖.
ใครอุปัฏฐากพระมหาบุรุษ
ขณะทรงบำเพ็ญทุกรกิริยา ?
ก.
ฉันนะ ข.
สุชาดา
ค.
ปัญจวัคคีย์ ง.
ภัททวัคคีย์
๑๗.
ใครเป็นศิษย์ของสัญชัยปริพพาชก
?
ก.
โกลิตะ ข.
ปุกกุสะ
ค.
ปิปผลิ ง.
ราธะ
๑๘.
พระพุทธเจ้าทรงผจญกับธิดาของพระยามาร
ณ สถานที่ใด ?
ก.
อนิมิสเจดีย์ ข.
รัตนจงกรมเจดีย์
ค.
ต้นอชปาลนิโครธ ง.
ต้นราชายตนะ
๑๙.
โดยธรรมาธิษฐาน
พระยามารคืออะไร ?
ก.
กามตัณหา ข.
กามราคะ
ค.
วัตถุกาม ง.
กิเลสกาม
๒๐.
สถานที่เพ่งดูต้นพระศรีมหาโพธิ
มิได้กระพริบพระเนตร เรียกว่า…?
ก.
อนิมิสเจดีย์ ข.
รัตนฆรเจดีย์
ค.
รัตนจงกรมเจดีย์ ง.
รัตนเจดีย์
๒๑.
พระพุทธเจ้าประทับเสวยวิมุตติสุข
หลังจากตรัสรู้กี่วัน ?
ก.
๗
วัน ข.
๒๑
วัน
ค.
๒๘
วัน ง.
๔๙
วัน
๒๒.
คำว่า
อรหันต์ เป็นคำเรียกกันมาตั้งแต่เมื่อไร
?
ก.
ก่อนพุทธกาล ข.
สมัยพุทธกาล
ค.
หลังพุทธกาล ง.
หลังสังคายนา
๒๓.
ตัณหักขยธรรม
ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา
ตรัสที่ไหน ?
ก.
ถ้ำสุกรขาตา ข.
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
ค.
วัดเวฬุวัน ง.
กัลลวาลมุตตคาม
๒๔.
บุคคลผู้ไม่สามารถแนะนำให้รู้ตามได้
เปรียบด้วยบัวชนิดใด ?
ก.
บัวใต้น้ำ ข.
บัวเสมอน้ำ
ค.
บัวพ้นน้ำ ง.
บัวพ้นน้ำพร้อมบาน
๒๕.
ข้อใด
กล่าวถึงพระอัญญาโกณฑัญญะไม่ถูกต้อง
?
ก.
เป็นปฐมสาวก ข.
เป็นลุงปุณณมาณพ
ค.
เกิดที่บ้านโทณวัตถุ ง.
เป็นบุตรกปิลพราหมณ์
๒๖.
ยสกุลบุตรพบพระพุทธเจ้า
ในพระอิริยาบถใด ?
ก.
ประทับยืน ข.
เสด็จจงกรม
ค.
ประทับนั่ง ง.
บรรทม
๒๗.
แคว้นกาสีมีชื่อเสียงในเรื่องใด
?
ก.
ธัญญาหาร ข.
สมุนไพร
ค.
อัญมณี ง.
เสื้อผ้า
๒๘.
พระพุทธเจ้าทรงเน้นคนกลุ่มใดก่อน
ในการประกาศพระศาสนา ?
ก.
หมู่สามัญชน ข.
หมู่เศรษฐี
ค.
หมู่นักบวช ง.
พระราชา
เจ้าลัทธิ
๒๙.
ปิปผลิมาณพและภัททกาปิลานี
คิดอย่างไรเกี่ยวกับการครอง
เรือนจึงตัดสินใจออกบวช
?
ก.
เป็นการสร้างบารมี ข.
เป็นการคอยรับบาป
ค.
เป็นการสืบทอดมรดก ง.
เป็นการสืบต่อสังสารวัฏ
๓๐.
การประกาศพระศาสนาของสาวกยุคแรก
มีอุปสรรคอย่างไร ?
ก.
มีคนเลื่อมใสน้อย ข.
ถูกเจ้าลัทธิต่อต้าน
ค.
ให้อุปสมบทเองไม่ได้ ง.
ทางสัญจรลำบากมาก
๓๑.
พระเจ้าพิมพิสารถวายอุทยานเวฬุวัน
เพราะทรงเห็นอย่างไร ?
ก.
อยู่ไกลจากพระนคร ข.
เหมาะแก่สมณวิสัย
ค.
เป็นสถานที่กว้างขวาง ง.
มีคนอยู่อาศัยมาก
๓๒.
ข้อใด
กล่าวถึงพระเจ้าพิมพิสารไม่ถูกต้อง
?
ก.
เป็นพระอริยบุคคล ข.
ถวายวัดแห่งแรก
ค.
พระราชาแคว้นมคธ
ง.
เป็นปฐมอุบาสก
๓๓.
พระเจ้าแผ่นดินผู้ครองแคว้นโกศล
คือใคร ?
ก.
พระเจ้าสุปปพุทธะ ข.
พระเจ้าปเสนทิโกศล
ค.
พระเจ้าสุทโธทนะ ง.
พระเจ้าพิมพิสาร
๓๔.
พระเทวทัตไม่สามารถบรรลุมรรคผล
เพราะเหตุใด ?
ก.
มีมานะว่าเป็นกษัตริย์ ข.
คิดจะตั้งตนเป็นใหญ่
ค.
ลาภสักการะครอบงำ ง.
สำคัญตนว่ามีความรู้
๓๕.
ใครบอกวิธีการทำนาให้เจ้าชายอนุรุทธะได้รับรู้
?
ก.
พระเจ้ามหานามะ ข.
พระเจ้าภัททิยะ
ค.
พระเจ้าสุกโกทนะ ง.
พระเจ้าอมิโตทนะ
๓๖.
“อะไรเป็นภัยของสัตวโลก”
ตรัสตอบอชิตมาณพว่าอย่างไร
?
ก.
ลาภเป็นภัยใหญ่ ข.
ทุกข์เป็นภัยใหญ่
ค.
ยศเป็นภัยใหญ่ ง.
ทรัพย์เป็นภัยใหญ่
๓๗.
พระสาวกคู่ใด
สนทนาเรื่องการตายของพระขีณาสพ
?
ก.
พระอัสสชิ
พระอนุรุทธะ ข.
พระอานนท์
พระอุบาลี
ค.
พระสารีบุตร
พระยมกะ ง.
พระยสะ
พระโมคคัลลานะ
๓๘.
พระสาวกรูปใด
ได้ศิษย์ดีและเป็นกำลังสำคัญของพระศาสนา
?
ก.
พระอัสสชิ ข.
พระยสะ
ค.
พระอานนท์ ง.
พระสารีบุตร
๓๙.
บุคคลใด
พระพุทธเจ้าจัดให้เป็นทิศเบื้องหน้า
?
ก.
บิดา
มารดา ข.
ครู
อาจารย์
ค.
บุตร
ภรรยา ง.
มิตร
สหาย
๔๐.
พระรัฐบาลใช้วิธีใด
จึงได้บวชเป็นพระภิกษุ ?
ก.
หนีบวชซึ่งหน้า ข.
อดอาหาร
ค.
บวชตามเพื่อน ง.
ขอร้องบิดามารดา
๔๑.
พระสาวกรูปใด
ไม่ได้บรรลุพระอรหัตในอิริยาบถทั้ง
๔ ?
ก.
พระสารีบุตร ข.
พระอานนท์
ค.
พระอุบาลี ง.
พระอนุรุทธะ
๔๒.
พระสาวกรูปใด
นิพพานก่อนพระศาสดา ?
ก.
พระอานนท์ ข.
พระอนุรุทธะ
ค.
พระมหากัสสปะ ง.
พระโมคคัลลานะ
๔๓.
พระสาวกรูปใด
สนับสนุนให้มีการบวชภิกษุณีครั้งแรก
?
ก.
พระมหากัสสปะ ข.
พระสารีบุตร
ค.
พระอานนท์ ง.
พระอุบาลี
๔๔.
พระพุทธเจ้า
ทรงจำพรรษานานที่สุด ณ เมืองใด
?
ก.
พาราณสี ข.
เวสาลี
ค.
สาวัตถี ง.
กุสินารา
๔๕.
ดอกไม้ชนิดใด
เป็นเครื่องบ่งบอกว่าพระศาสดาปรินิพพานแล้ว
?
ก.
ดอกบัว ข.
ดอกสาละ
ค.
ดอกโศก ง.
ดอกมณฑารพ
๔๖.
ข้อใด
ไม่จัดเข้าในสังเวชนียสถาน
๔ ?
ก.
สถานที่ประสูติ ข.
สถานที่ตรัสรู้
ค.
สถานที่ปรินิพพาน ง.
สถานที่ถวายพระเพลิง
๔๗.
อุทเทสิกเจดีย์
หมายถึงข้อใด ?
ก.
พระพุทธรูป ข.
พระบรมสารีริกธาตุ
ค.
พระพุทธบริขาร ง.
พระไตรปิฏก
๔๘.
ข้อใด
ไม่จัดเข้าในถูปารหบุคคล
๔ จำพวก ?
ก.
พระพุทธเจ้า ข.
อรหันตสาวก
ค.
พระเจ้าจักรพรรดิ ง.
พระราชา
๔๙.
สังคายนาครั้งใด
มีการจารึกคำสอนลงในใบลาน
?
ก.
ครั้งที่
๒ ข.
ครั้งที่
๓
ค.
ครั้งที่
๔ ง.
ครั้งที่
๕
๕๐.
ข้อใด
กล่าวถึงสังคายนาครั้งที่
๓ ได้ถูกต้อง ?
ก.
หลังปรินิพพาน
๒๑๘ ปี ข.
ประชุมทำ
ณ อโศการาม
ค.
ใช้เวลาทำนาน
๙ เดือน ง.
ถูกทุกข้อ
***
*** ***
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen