Donnerstag, 9. Juli 2020

๔๑. ภาษาที่เกื้อกูลแก่ภาษาบาฬี



๔๑. ภาษาที่เกื้อกูลแก่ภาษาบาฬี


มาคธา ปากตา เจว, สกฺกตโวหาโรปิ ;

เอเตสุ โกวิโท ปญฺโญ, ธีโร ปาฬึ วิโสธเยฯ


นักปราชญ์ผู้มีปัญญามีความรอบรู้

ในภาษาทั้ง เหล่านี้คือ ภาษามคธ

ภาษาปรากฤต และภาษาสันสกฤต

พึงชำระตรวจทานภาษาปาฬีเถิด.


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๔๑)


..


ศัพท์น่ารู้ :


มาคธา (ภาษามคธ) มาคธา+สิ วิ. ) วํสมคฺค ถวตีติ มาคโธ, มคฺค+ถุ+, ลบ , ทีฆะ, เป็น . ) สุทฺเทน สมฺพนฺธาย ขตฺตาย ชาโต ปุตฺโต มาคโธ, ) มาคธกุเล ชาโต  มาคโธ, ) มคเธ ภโว มาคโธ มคธ+ ปัจจัย

ปากตา (ภาษาปรากฤต) ปากตา+สิ

เจว, (ด้วยนั้นเที่ยว) นิบาต

สกฺกตโวหาโรปิ = สกฺกตโวหาโร+อปิ (แม้ภาษาสันสกฤต) สกฺกต (ภาษาสัตสกฤต)+โวหาร (คำพูด, โวหาร, ภาษา) > สกฺกตโวหาร+สิ

(ด้วย) นิบาต

เอเตสุ (ใน..เหล่านั้น, ในภาษาเหล่านั้น) เอต+สุ สัพพนาม

โกวิโท (ฉลาด, ชำนาญ, รอบรู้) โกวิท+สิ

ปญฺโญ (ผู้มีปัญญา) ปญฺญ+สิ

ธีโร (นักปราชญ์,​ ธีรชน) ธีร+สิ

ปาฬึ (ซึ่งภาษาบาฬี) ปาฬิ+อํ

วิโสธเย (พึงชำระ, ตราจทาน, เรียบเรียง) วิ+√สุธ+ณย+เอยฺย จุราทิ. กัตตุ.


..

Keine Kommentare: