ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม
ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์
ที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๕
คำสั่ง
:
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
.......................................................
๑.
ธรรมข้อใด
ควบคุมมิให้คนทำผิดพลาด ?
ก.
สติ
สัมปชัญญะ
ข.
หิริ
โอตตัปปะ
ค.
ขันติ
โสรัจจะ
ง.
กตัญญู
กตเวที
๒.
ธรรมข้อใด
มีอุปมาดุจหางเสือเรือ ?
ก.
หิริ
ข.
โอตตัปปะ
ค. สติ
ค. สติ
ง.
ขันติ
๓.
บุคคลในข้อใด
ต้องใช้สติสัมปชัญญะมากที่สุด
?
ก.
คนโดยสารรถ
ข.
คนข้ามถนน
ค.
คนเก็บค่าโดยสาร
ง.
คนขับรถ
๔.
ความไม่สงบที่เกิดขึ้นทั่วโลก
เพราะขาดคุณธรรมข้อใด ?
ก.
หิริ
โอตตัปปะ
ข.
ขันติ
โสรัจจะ
ค.
สติ
สัมปชัญญะ
ง.
ถูกทุกข้อ
๕.
โลก
ในคำว่า "
ธรรมคุ้มครองโลก
"
หมายถึงข้อใด
?
ก.
โลกคือแผ่นดิน
ข.
เทวโลก
ค.
โลกคือหมู่สัตว์
ง.
ยมโลก
๖.
" อายชั่ว
กลัวบาป สวรรค์รับ บาปลา "
หมายถึงธรรมข้อใด
?
ก.
สติ
สัมปชัญญะ
ข.
หิริ
โอตตัปปะ
ค.
วจีสุจริต
๔
ง.
วจีทุจริต
๔
๗.
ผู้มีธรรมเป็นโลกบาลอยู่ในใจ
ย่อมมีลักษณะเช่นไร ?
ก.
เป็นคนกล้าหาญ
ข.
เป็นผู้นิ่งทั้งต่อหน้า
ลับหลัง
ค.
เป็นคนเรียบร้อย
ง.
ไม่ทำชั่วทั้งต่อหน้า
ลับหลัง
๘."
อาภรณ์แต่งกาย
แต่ใจแต่งด้วยธรรม "
หมายถึงธรรมข้อใด
?
ก.
สติ
สัมปชัญญะ
ข.
หิริ
โอตตัปปะ
ค.
ขันติ
โสรัจจะ
ง.
เมตตา
กรุณา
๙.
คนมีน้ำอดน้ำทน
เพราะมีคุณธรรมข้อใด ?
ก.
ฉันทะ
ข.
จิตตะ
ค.
ขันติ
ง.
วิมังสา
๑๐.
บุพพการีชน
หมายถึงใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
มารดา
บิดา
ค.
พระมหากษัตริย์
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๑.
ข้อใด
เป็นคุณแห่งพระธรรม ?
ก.
ของจริงที่มีอยู่ในโลก
ข.
รักษาผู้ปฏิบัติมิให้ตกไปในที่ชั่ว
ค.
เป็นธรรมดาของโลก
ง.
ธรรมชาติที่เกิดขึ้นในใจ
๑๒.
การประพฤติชั่วทางกาย
วาจา ใจ เรียกว่าอะไร ?
ก.
อกุศลมูล
ข.
ทุจริต
ค.
บาป
ง.
มลทิน
๑๓.
โอวาทของพระพุทธเจ้า
๓ อย่าง ตรงกับข้อใด ?
ก.
ทาน
ศีล ภาวนา
ข.
ศีล
สมาธิ ปัญญา
ค.
ละชั่ว
ทำดี ทำจิตให้บริสุทธิ์
ง.
อนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา
๑๔.
คนต้มตุ๋น
หลอกลวง ใช้วจีทุจริตข้อใด
?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดคำหยาบ
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๑๕.
วจีทุจริตข้อใด
เป็นเหตุให้หมู่คณะเกิดความแตกร้าว
?
ก.
พูดเท็จ
ข.
พูดส่อเสียด
ค.
พูดคำหยาบ
ง.
พูดเพ้อเจ้อ
๑๖.
การเว้นจากกายทุจริตและวจีทุจริต
จัดเข้าในข้อใด ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๑๗.
อกุศลมูลข้อใด
เป็นเหตุให้คนขายยาบ้า ?
ก.
โลภะ
ข.
โทสะ
ค.
โมหะ
ง.
ราคะ
๑๘.
วัยรุ่นไม่เข้าแหล่งอบายมุข
เพราะมีกุศลมูลข้อใด ?
ก.
อโลภะ
ข.
อโทสะ
ค.
อโมหะ
ง.
ข้อ
ก. ข้อ
ข. ถูก
๑๙.
คนมีโทสะเป็นเจ้าเรือน
มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
เป็นคนเห็นแก่ได้
ข.
เป็นคนเจ้าอารมณ์
ค.
เป็นคนเชื่องมงาย
ง.
เป็นคนเจ้าระเบียบ
๒๐.
การไม่ถือสาหาโทษ
อโหสิต่อกัน จัดเป็นทานประเภทใด
?
ก.
อภัยทาน
ข.
ธรรมทาน
ค.
สังฆทาน
ง.
วัตถุทาน
๒๑.
การไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
จัดเป็นสัปปุริสบัญญัติข้อใด
?
ก.
ทาน
ข.
ปัพพัชชา
ค.
มาตาปิตุอุปัฏฐาน
ง.
ไม่มีข้อถูก
๒๒.
ศีล
ย่อมควบคุมอะไรไว้ได้ ?
ก.
กาย
ใจ
ข.
วาจา
ใจ
ค.
กาย
วาจา ใจ
ง.
กาย
วาจา
๒๓.
การฟังเทศน์
จัดเข้าในการทำบุญประเภทใด
?
ก.
ทานมัย
ข.
ศีลมัย
ค.
ภาวนามัย
ง.
อนุโมทนามัย
๒๔.
ทุกคนบังคับสังขารไม่ให้แก่
ไม่ให้ตาย ไม่ได้
เพราะอำนาจแห่งไตรลักษณ์ข้อใด
?
ก.
อนิจจัง
ข.
ทุกขัง
ค.
อนัตตา
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๕.
ท่านสอนให้คบสัตบุรุษ
คือคบคนเช่นไร ?
ก.
คนรู้จักทำมาหากิน
ข.
คนขยัน
ไม่เกียจคร้าน
ค.
คนมีน้ำใจแบ่งปัน
ง.
คนทำดี
พูดดี คิดดี
๒๖.
อัตตสัมมาปณิธิ
ในจักร ๔ ตรงกับข้อใด ?
ก.
อยู่ในประเทศสมควร
ข.
คบหาสัตบุรุษ
ค.
ตั้งตนไว้ชอบ
ง.
ได้ทำบุญไว้มาก
๒๗.
จะเป็นคนเที่ยงธรรมได้
ต้องเป็นคนเช่นไร ?
ก.
มีเมตตา
กรุณา
ข.
กล้าได้
กล้าเสีย
ค.
มีอิทธิบาท
๔
ง.
ไม่มีอคติ
๔
๒๘.
ผู้ตัดสินคดีด้วยความเกลียดชัง
ถือว่าตั้งอยู่ในอคติข้อใด
?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๒๙.
หากนักเรียนได้รับคัดเลือกให้เป็นบุคคลดีเด่น
ควรประพฤติตนอย่างไร ?
ก.
ระวังไม่ทำความชั่ว
ข.
ละเลิกทำความชั่ว
ค.
พยายามทำดีเข้าไว้
ง.
รักษาความดีมิให้เสื่อม
๓๐.
คนต้องการเลิกเสพยาบ้า
ควรเจริญอธิษฐานธรรมข้อใด
?
ก.
รักษาสัจจะ
ข.
รู้จักโทษของยาบ้า
ค.
สงบสติอารมณ์
ง.
ข้อก.
ข้อ
ข. ถูก
๓๑.
" สงบใจ
เจริญสุข "
หมายถึงอธิษฐานธรรมข้อใด
?
ก.
ปัญญา
ข.
สัจจะ
ค.
จาคะ
ง.
อุปสมะ
๓๒.
" จะทำงานให้สำเร็จต้องมีเคล็ดปลุกใจ
"
ข้อใดคือเคล็ดปลุกใจ
?
ก.
ฉันทะ
ข.
วิริยะ
ค.
จิตตะ
ง.
วิมังสา
๓๓.
" ประมาทจิต
จะติดยาบ้า "
เพราะไม่ละอกุศลธรรมข้อใด
?
ก.
กายทุจริต
ข.
วจีทุจริต
ค.
มโนทุจริต
ง.
ความเห็นผิด
๓๔.
วัยรุ่นควรระวังใจอย่างไร
จึงจะไม่มัวเมา ไม่มั่วอบายมุข
?
ก.
มิให้กำหนัด
ข.
มิให้ขัดเคือง
ค.
มิให้หลง
ง.
มิให้มัวเมา
๓๕.
" เมตตาพารัก
โลกประจักษ์ยั่งยืน "
หมายถึงความรักในข้อใด
?
ก.
รักคนและสัตว์
ข.
รักธรรมชาติ
ค.
รักการเรียน
ง.
รักประชาธิปไตย
๓๖.
เมื่อเห็นตำรวจจับกุมผู้ทำความผิดได้
ควรเจริญพรหมวิหารข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๓๗.
อวิหิงสา
ความไม่เบียดเบียนกัน
ตรงกับพรหมวิหารข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๓๘.
ธาตุใด
ทำหน้าที่ย่อยอาหาร ?
ก.
ดิน
ข.
น้ำ
ค.
ลม
ง.
ไฟ
๓๙.
ฟังเทศน์แล้ว
ย่อมได้อะไร ?
ก.
ย่อมได้ฟังสิ่งที่ไม่เคยฟัง
ข.
ย่อมบรรเทาความสงสัยเสียได้
ค.
ย่อมทำความเห็นให้ถูกต้องได้
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๐.
" อะไรจะเกิด
ก็ต้องเกิด "
ผู้พูดต้องการให้ทราบเรื่องใด
?
ก.
ความเกิดเป็นเรื่องธรรมดา
ข.
ความตายเป็นเรื่องธรรมดา
ค.
ทุกคนต้องพลัดพรากจากของรัก
ง.
ทุกคนมีกรรมเป็นของของตน
๔๑.
" มีวิชา
เหมือนมีทรัพย์อยู่นับแสน
"
ตรงกับข้อใด
?
ก.
ความรอบรู้ในกองสังขาร
ข.
ความเป็นผู้มีความรู้มาก
ค.
ความรู้จักอดออมทรัพย์
ง.
ความรู้จักให้ธรรมเป็นทาน
๔๒.
สัปปุริสธรรมข้อใด
มีความหมายตรงกับเศรษฐกิจพอเพียง
?
ก.
รู้จักประมาณ
ข.
รู้จักกาล
ค.
รู้จักตน
ง.
รู้จักชุมชน
๔๓.
มียศแล้ว
กลับเสื่อมยศ ควรปฏิบัติอย่างไร
?
ก.
แสวงหาความถูกต้อง
ข.
ทำจิตมิให้ยินดียินร้าย
ค.
ทำพิธีเสดาะเคราะห์
ง.
อ่านหนังสือธรรมะ
๔๔.
เพื่อนหน้าไหว้
หลังหลอก จัดเข้าในมิตรประเภทใด
?
ก.
มิตรปอกลอก
ข.
มิตรดีแต่พูด
ค.
มิตรหัวประจบ
ง.
มิตรหลอกลวง
๔๕.
เพื่อนที่ดีของเรา
ควรเป็นคนเช่นไร ?
ก.
ทำดีกับเรา
ข.
พูดดีกับเรา
ค.
คิดดีกับเรา
ง.
เอาใจเราทุกอย่าง
๔๖.
มิตรประเภทใด
ก่อความเสียหายให้มากที่สุด
?
ก.
มิตรชักชวนในทางฉิบหาย
ข.
มิตรปอกลอก
ค.
มิตรหัวประจบ
ง.
มิตรดีแต่พูด
๔๗.
ผู้บำเพ็ญคุณประโยชน์ให้แก่สังคม
ตรงกับสังคหวัตถุข้อใด ?
ก.
ทาน
ข.
ปิยวาจา
ค.
อัตถจริยา
ง.
สมานัตตตา
๔๘.
การใช้จ่ายทรัพย์
ให้ควรแก่ฐานะ ตรงกับคำพังเพยข้อใด
?
ก.
ขี่ช้างจับตั๊กแตน
ข.
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
ค.
นกน้อยทำรังแต่พอตัว
ง.
มีสลึงพึงบรรจบให้ครบบาท
๔๙.
การไม่ถือมงคลตื่นข่าว
มีลักษณะเช่นไร ?
ก.
เชื่อกรรม
ไม่เชื่อมงคล
ข.
เชื่อมงคล
ไม่เชื่อกรรม
ค.
เชื่อกรรม
เชื่อมงคล
ง.
ไม่เชื่อกรรม
ไม่เชื่อมงคล
๕๐.
" กายเมตตา
วาจาไมตรี ฤดีมุ่งมิตร
ไม่ปิดทวาร ให้ทานเสมอ "
เป็นคุณสมบัติของใคร
?
ก.
มิตร
ข.
เจ้านาย
ค.
กุลบุตร
ง.
สมณพราหมณ์
.......................................................
ผู้ออกข้อสอบ:
๑.
พระราชพัชราภรณ์
วัดมหาธาตุ จ.
เพชรบูรณ์
๒.
พระศรีกิตติโสภณ
วัดสามพระยา
๓.
พระปริยัติสารเมธี
วัดราชผาติการาม
ตรวจ/ปรับปรุง:
โดยสนามหลวงแผนกธรรม
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen