ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม
ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร
ที่ --
พฤศจิกายน
พ.ศ.
๒๕๔๖
เวลา ๑๓.๐๐ น.
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง
:
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
.......................................................
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
.......................................................
๑. ข้อใด เป็นธรรมมีอุปการะมาก ?
ก. หิริ โอตตัปปะ
ข. สติ สัมปชัญญะ
ค. กตัญญู กตเวที
ง. ขันติ โสรัจจะ
ก. หิริ โอตตัปปะ
ข. สติ สัมปชัญญะ
ค. กตัญญู กตเวที
ง. ขันติ โสรัจจะ
๒.
เราควรใช้สติเมื่อใด
?
ก.
ก่อนทำ
พูด คิด
ข.
ขณะทำ
พูด คิด
ค.
ทำ พูด
คิดเสร็จแล้ว
ง.
ข้อ
ก. ข้อ
ข. ถูก
๓.
เราควรใช้สัมปชัญญะเมื่อใด
?
ก.
ก่อนทำ
พูด คิด
ข.
ขณะทำ
พูด คิด
ค.
ทำ พูด
คิดเสร็จแล้ว
ง.
ใช้ได้ตลอดกาล
๔.
ข้อใด
เรียกว่าเทวธรรม ?
ก. สติ สัมปชัญญะ
ข. ขันติ โสรัจจะ
ค. หิริ โอตตัปปะ
ง. กตัญญู กตเวที
ข. ขันติ โสรัจจะ
ค. หิริ โอตตัปปะ
ง. กตัญญู กตเวที
๕.
ผู้มีเทวธรรม
มีลักษณะอย่างไร ?
ก.
ไม่ทำชั่วในที่ลับ
ข.
ไม่ทำชั่วในที่แจ้ง
ค.
ไม่ทำชั่ว
ทั้งในที่ลับและที่แจ้ง
ง.
ไม่ทำชั่ว
เพราะกลัวถูกประณาม
๖.
ข้อใด
เป็นลักษณะของโอตตัปปะ ?
ก.
ละอายความชั่ว
ข.
กลัวถูกลงโทษ
ค.
ละอายตนเอง
ง.
กลัวผลของความชั่ว
๗.
ผู้งดงามทั้งนอกทั้งใน
เพราะมีคุณธรรมข้อใด ?
ก.
หิริ
โอตตัปปะ
ข.
สติ
สัมปชัญญะ
ค.
ขันติ
โสรัจจะ
ง.
กตัญญู
กตเวที
๘.
นาย
ก. ถูกนาย
ข. ทำร้าย
อดกลั้นไว้ได้ เพราะมีคุณธรรมอะไร
?
ก.
หิริ
ข.
โอตตัปปะ
ค.
ขันติ
ง.
สติ
๙.
ความทนต่อความหนาวร้อน
มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ทนต่อความเจ็บใจ
ข. ทนต่อความตรากตรำ
ข. ทนต่อความตรากตรำ
ค.
ทนต่อความอยาก
ง. ทนต่อความทุกข์ทรมาน
ง. ทนต่อความทุกข์ทรมาน
๑๐.
ข้อใด
เป็นความหมายของคำว่า “
กตเวที ” ?
ก.
ทำอุปการะก่อน
ข.
รู้อุปการะที่ท่านทำแล้ว
ค.
ตอบแทนคุณท่าน
ง.
รู้อุปการะและตอบแทนคุณ
๑๑.
ผู้ใดไม่ชื่อว่า
บุพพการี ?
ก.
บิดา
มารดา
ข.
พระมหากษัตริย์
ค.
บุตร
ธิดา
ง.
ครู
อาจารย์
๑๒.
ชาวพุทธมีอะไร
เป็นสรณะ ?
ก.
ไตรสิกขา
ข.
ไตรมาส
ค.
ไตรลักษณ์
ง.
ไตรรัตน์
๑๓.
พระธรรม
คืออะไร ?
ก.
หนังสือธรรมะ
ข.
คัมภีร์เทศน์
ค.
คำสุภาษิต
ง.
คำสั่งสอน
๑๔.
ข้อใด
เป็นคุณของพระธรรม ?
ก.
รักษาผู้ปฏิบัติให้ร่ำรวย
ข.
รักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว
ค.
รักษาผู้ปฏิบัติให้มีความสุข
ง.
รักษาผู้ปฏิบัติให้เจริญ
๑๕.
สงฆ์ในคำว่า
“ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
” หมายถึงใคร ?
ก.
ภิกษุสงฆ์
ข.
ภิกษุณีสงฆ์
ค.
อริยสงฆ์
ง.
สมมติสงฆ์
๑๖.
โอวาทของพระพุทธเจ้าที่เป็นหลักการ
คืออะไร ?
ก.
ไม่คบคนชั่ว
คบคนดี มีเมตตา
ข.
ไม่ทำชั่ว
ทำดี กตัญญู
ค.
ไม่ทำชั่ว
ทำดี ทำใจให้ผ่องใส
ง.
ทำดี
ทำใจให้ผ่องใส มีสัตย์
๑๗.
ทุจริต
หมายถึงการประพฤติเช่นไร
?
ก.
กาย
วาจา ชอบ
ข.
กาย
วาจา มิชอบ
ค.
กาย
วาจา ใจ ชอบ
ง.
กาย
วาจา ใจ มิชอบ
๑๘.
นักเรียนสั่งซื้อยาบ้าเพื่อจะเสพ
จัดเป็นทุจริตข้อใด ?
ก.
กายทุจริต
ข.
วจีทุจริต
ค.
มโนทุจริต
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๙.
“ ยุให้รำ
ตำให้รั่ว ” เป็นลักษณะของคำพูดในข้อใด
?
ก.
พูดเท็จ
ข. พูดคำหยาบ
ข. พูดคำหยาบ
ค.
พูดส่อเสียด
ง. พูดเพ้อเจ้อ
ง. พูดเพ้อเจ้อ
๒๐.
ทุจริต
๓ อย่าง เป็นธรรมประเภทใด
?
ก.
ธรรมที่ควรศึกษา
ข.
ธรรมที่ควรละ
ค.
ธรรมที่ควรรู้
ง.
ธรรมที่ควรเห็น
๒๑.
มูลเหตุแห่งความผิดของคน
คืออะไร ?
ก.
โลภะ
โทสะ โมหะ
ข.
มานะ
โทสะ โมหะ
ค.
ราคะ
โทสะ โมหะ
ง.
ตัณหา
ราคะ ทิฏฐิ
๒๒.
ฉ้อราษฎร์บังหลวง
มีอะไรเป็นมูลเหตุ ?
ก.
โลภะ
โทสะ
ข.
โลภะ
ตัณหา
ค.
โลภะ
ทิฏฐิ
ง.
โลภะ
โมหะ
๒๓.
คำว่า
“ อารมณ์เสีย อารมณ์เน่า ”
เทียบได้กับข้อใด ?
ก.
มานะ
ข.
โกธะ
ค. โลภะ
ค. โลภะ
ง.
พยาบาท
๒๔.
ข้อใด
ไม่จัดเข้าในสัปปุริสบัญญัติ
?
ก.
ทาน
ข. ศีล
ข. ศีล
ค.
ปัพพัชชา
ง. มาตาปิตุอุปัฏฐาน
ง. มาตาปิตุอุปัฏฐาน
๒๕.
สิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบำเพ็ญบุญ
เรียกว่าอะไร ?
ก.
บุญกิริยา
ข.
บุญวัตถุ
ค.
สังคหวัตถุ
ง.
บุญกิริยาวัตถุ
๒๖.
การสวดมนต์
จัดเข้าในการทำบุญประเภทใด
?
ก.
ทานมัย
ข.
สีลมัย
ค.
ภาวนามัย
ง.
ธัมมเทสนามัย
๒๗.
คนมีบุญ
คือคนเช่นไร ?
ก.
มีลาภ
มียศ
ข.
มีคนสรรเสริญ
ค.
ไม่มีคนนินทา
ง.
สุขกาย
สุขใจ
๒๘.
คบคนดี
ฟังวจีโดยเคารพ นอบนบด้วยพินิจ
ทำกิจด้วยปฏิบัติ ตรงกับข้อใด
?
ก.
วุฒิธรรม
ข.
จักรธรรม
ค.
อิทธิบาทธรรม
ง.
พรหมวิหารธรรม
๒๙.
คำว่า
“ บุญใหม่ ” ตรงกับข้อใด ?
ก.
อยู่ในประเทศสมควร
ข. คบสัตบุรุษ
ข. คบสัตบุรุษ
ค.
ตั้งตนไว้ชอบ
ง. ได้ทำความดีไว้ในปางก่อน
ง. ได้ทำความดีไว้ในปางก่อน
๓๐.
ค่าของคนอยู่ที่คนของใคร
เป็นลักษณะของอคติข้อใด ?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
โมหาคติ
ง.
ภยาคติ
๓๑.
“ ผมเป็นลูกนายตำรวจครับ
” การโอ้อวดเช่นนี้
เป็นเหตุให้เกิดอคติข้อใด
?
ก.
ฉันทาคติ
ข.
โทสาคติ
ค.
ภยาคติ
ง.
โมหาคติ
๓๒.
ข้อใด
ตรงกับสังวรปธาน ?
ก.
เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว
ข.
เพียรระวังมิให้บาปเกิดขึ้น
ค.
เพียรให้กุศลเกิดขึ้น
ง.
เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นไม่ให้เสื่อม
๓๓.
อิทธิบาทข้อใด
เป็นพื้นฐานนำไปสู่ความสำเร็จของงาน
?
ก.
ฉันทะ
ข.
จิตตะ
ค.
วิริยะ
ง.
วิมังสา
๓๔.
การเอาใจฝักใฝ่ในการศึกษาไม่วางธุระ
คือข้อใด ?
ก.
ฉันทะ
ข. วิริยะ
ข. วิริยะ
ค.
จิตตะ
ง. วิมังสา
ง. วิมังสา
๓๕.
การช่วยคนประสบทุกข์
จัดเป็นพรหมวิหารข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค. มุทิตา
ค. มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๓๖.
ความดับตัณหาได้สิ้นเชิง
ทุกข์ดับไปหมด ชื่อว่าอะไร
?
ก.
ทุกข์
ข.
สมุทัย
ค.
นิโรธ
ง.
มรรค
๓๗.
สัมมาทิฏฐิ
ปัญญาอันเห็นชอบ คืออะไร ?
ก.
เห็นอริยสัจ
ข.
เห็นอริยทรัพย์
ค.
เห็นอริยสงฆ์
ง.
เห็นอริยสาวก
๓๘.
การพิจารณาความตายเนือง
ๆ มีประโยชน์อย่างไร ?
ก.
บรรเทาความเมาในวัย
ข.
บรรเทาความเมาในชีวิต
ค.
บรรเทาความยึดมั่น
ง.
บรรเทาความเห็นแก่ตัว
๓๙.
ข้อใด
เป็นอานิสงส์ของการฟังธรรมโดยตรง
?
ก.
ทำให้ได้บุญ
ข. ทำให้เกิดสมาธิ
ข. ทำให้เกิดสมาธิ
ค.
ทำให้ละกิเลส
ง. ทำให้เกิดปัญญา
ง. ทำให้เกิดปัญญา
๔๐.
ปฏิบัติอย่างไร
จึงจะชื่อว่าเคารพในการศึกษา
?
ก.
ขยันไปโรงเรียน
ข.
ขยันอ่านหนังสือ
ค.
ขยันหาความรู้
ง.
ขยันทำการบ้าน
๔๑.
สาราณิยธรรม
คือธรรมเช่นไร ?
ก.
ธรรมที่เป็นแก่นสาร
ข.
ธรรมของผู้ทรงศีล
ค.
ธรรมเป็นเหตุบริจาค
ง.
ธรรมเป็นเหตุให้ระลึกถึงกัน
๔๒.
“ อย่าชิงสุกก่อนห่าม
” ตรงกับหลักธรรมข้อใด ?
ก.
กาลัญญุตา
ข.
อัตตัญญุตา
ค.
ปริสัญญุตา
ง.
ธัมมัญญุตา
๔๓.
ข้อใด
เป็นอิฏฐารมณ์ทั้งหมด ?
ก.
ลาภ
เสื่อมลาภ สุข ทุกข์
ข.
ยศ
เสื่อมยศ นินทา ทุกข์
ค.
สุข
ทุกข์ สรรเสริญ นินทา
ง.
ลาภ
ยศ สรรเสริญ สุข
๔๔.
ทำอย่างไร
จึงจะตั้งตัวได้ในโลกนี้
?
ก.
เว้นจากอบายมุข
ข. บำเพ็ญสังคหวัตถุ
ข. บำเพ็ญสังคหวัตถุ
ค.
คบกัลยาณมิตร
ง. บำเพ็ญทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์
ง. บำเพ็ญทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์
๔๕.
ข้อใด
เป็นลักษณะของคนดีแต่พูด
?
ก.
คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์
ข.
สงเคราะห์ด้วยสิ่งหาประโยชน์มิได้
ค.
ต่อหน้าว่าสรรเสริญ
ง.
คิดแต่ได้ฝ่ายเดียว
๔๖.
คนเทียมมิตรเช่นไร
ที่ควรหลีกเลี่ยงให้ไกลที่สุด
?
ก.
มิตรชักชวนในทางฉิบหาย
ข.
มิตรหัวประจบ
ค.
มิตรดีแต่พูด
ง.
มิตรปอกลอก
๔๗.
อัตถจริยาในสังคหวัตถุ
หมายความว่าอย่างไร ?
ก.
โอบอ้อมอารีย์
ข.
วจีไพเราะ
ค.
สงเคราะห์ชุมชน
ง.
วางตนพอดี
๔๘.
ฆราวาสธรรม
คือข้อใด ?
ก.
สัจจะ
ทมะ ขันติ จาคะ
ข.
สัทธา
สีล จาคะ ปัญญา
ค.
ฉันทะ
วิริยะ จิตตะ วิมังสา
ง.
เมตตา
กรุณา มุทิตา อุเบกขา
๔๙.
“ งบประมาณขาดดุล
” ชื่อว่าขาดธรรมข้อใด ?
ก.
อัตถจริยา
ข. สมชีวิตา
ข. สมชีวิตา
ค.
สมานัตตตา
ง. กัลยาณมิตตตา
ง. กัลยาณมิตตตา
๕๐.
ทิศเบื้องหน้า
ได้แก่ข้อใด ?
ก.
สมณะ
ข.
อาจารย์
ค.
มารดาบิดา
ง.
มิตร
.......................................................
ผู้ออกข้อสอบ:
๑.
พระราชพัชราภรณ์
วัดมหาธาตุ
๒.
พระศรีกิตติโสภณ
วัดสามพระยา
๓.
พระปริยัติสารเมธี
วัดราชผาติการาม
ตรวจ/ปรับปรุง:
สนามหลวงแผนกธรรม
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen