ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม
ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์
ที่ ๔ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๔๔
คำสั่ง
: จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
โดยกากบาทในช่องของข้อ
ที่ต้องการ ลงในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
ที่ต้องการ ลงในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑. ข้อใด
จัดเป็นโลกโดยอ้อม ?
ก.
โลกคือแผ่นดิน ข.
โลกสวรรค์
ค.
พรหมโลก ง.
โลกคือหมู่สัตว์ผู้อาศัยแผ่นดิน
จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม
ข้อ ๒-๕
"
สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้
อันตระการดุจราชรถ
ที่พวกคนเขลาหมกอยู่
แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ "
แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ "
๒. คำว่า
"
สูทั้งหลาย
"
หมายถึงใคร
?
ก.
หมู่พุทธบริษัท ข.
หมู่สัตว์
ค.
หมู่ฆราวาส ง.
หมู่พระภิกษุ
๓. คำว่า
"
โลกนี้
"
หมายถึงข้อใด
?
ก.
แผ่นดิน
น้ำ อากาศ ข.
แผ่นดิน
และหมู่สัตว์
ค.
หมู่สัตว์ ง.
แผ่นดิน
และสิ่งก่อสร้าง
๔. คำว่า
"
คนเขลา
"
หมายถึงใคร
?
ก.
คนไร้การศึกษา ข.
คนดื้อรั้น
ค.
คนมีความเห็นผิด ง.
คนกลับกลอก
๕. คำว่า
"
ผู้รู้
"
ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
?
ก.
คนมีการศึกษา ข.
คนมีวิสัยทัศน์
ค.
คนที่เคยเรียนธรรมะ ง.
คนเห็นโลกตามเป็นจริง
จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ
๖-๘
"
ผู้ใด
จักระวังจิต ผู้นั้นจักพ้นจากมารและบ่วงแห่งมาร
"
๖. คำว่า
"
ระวังจิต
"
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
?
ก.
สำรวมจิต ข.
ระวังความคิด
ค.
สำรวมร่างกาย ง.
ระวังอันตราย
๗. คำว่า
"
มาร
"
คืออะไร
?
ก.
สิ่งชั่วร้าย ข.
อุปสรรค
ค.
วัตถุกาม ง.
กิเลสกาม
๘. คำว่า
"
บ่วงแห่งมาร
"
หมายถึงข้อใด
?
ก.
กิเลสกาม ข.
วัตถุกาม
ค.
กามฉันท์ ง.
ตัณหา
๙. รูป
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เรียกว่าอะไร ?
ก.
ธรรมขันธ์
๕ ข.
มูลกัมมัฏฐาน
๕
ค.
ขันธ์
๕ ง.
อินทรีย์
๕
๑๐.
ความเห็นสังขารว่า
"
ไม่เที่ยง
"
จัดเป็นอะไร
?
ก.
สมถกัมมัฏฐาน ข.
ทิฏฐิวิปัลลาส
ค.
ความสิ้นไปแห่งทุกข์ ง.
ปฏิปทาแห่งนิพพิทา
๑๑.
ความเสวยอารมณ์
สุข ทุกข์ อุเบกขา คืออะไร
?
ก.
เวทนา ข.
สัญญา
ค.
วิญญาณ ง.
โผฏฐัพพะ
๑๒.
ข้อใด
กล่าวลักษณะแห่งสังขารมนุษย์
ไม่ถูกต้อง ?
ก.
อนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา ข.
มีรูปร่างจับต้องได้
ค.
เกิดขึ้น
ตั้งอยู่ ดับไป ง.
นิจจัง
นิททุกขัง อัตตา
๑๓.
อนิจจลักษณะ
ครอบงำสังขารใด ?
ก.
อุปาทินนกสังขาร ข.
อนุปาทินนกสังขาร
ค.
วิสังขาร ง.
ข้อ
ก.
และ
ข.
ถูก
๑๔.
สภาวทุกข์
หมายถึงข้อใด ?
ก.
ชาติ
ชรา มรณะ ข.
ราคะ
โทสะ โมหะ
ค.
กาม
ภพ อวิชชา ง.
อนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา
๑๕.
ความเศร้าโศกและความคร่ำครวญ
จัดเป็นทุกข์ชนิดใด ?
ก.
สภาวทุกข์ ข.
ปกิณกทุกข์
ค.
นิพัทธทุกข์ ง.
สันตาปทุกข์
๑๖.
เด็กคลอดจากครรภ์มารดา
จัดเป็นทุกข์ประเภทใด ?
ก.
วิปากทุกข์ ข.
ชราทุกข์
ค.
มรณทุกข์ ง.
ชาติทุกข์
๑๗.
ไม่อยู่ในอำนาจ
หาเจ้าของมิได้ เป็นสภาพสูญ
ตรงกับข้อใด ?
ก.
อนิจจัง ข.
ทุกขัง
ค.
อนัตตา ง.
สังขาร
๑๘. ข้อใดเป็นอาการของนิพัทธทุกข์
?
ก.
หนาว
ร้อน เป็นต้น ข.
โรคเครียด
ค.
ความร้อนรุ่มเพราะกิเลส ง.
ความเสียใจ
๑๙.
คนหรือสัตว์ที่เรียกกันว่า
ตาย นั้น กำหนดด้วยอะไร ?
ก.
ความขาดสติ ข.
ความขาดสันตติ
ค.
ความสิ้นลม ง.
ความสิ้นใจ
๒๐. ข้อใด
แย้งต่ออัตตา ?
ก.
ไม่อยู่ในอำนาจ ข.
ไม่มีเจ้าของ
ค.
เป็นไปตามเหตุปัจจัย ง.
ถูกทุกข้อ
๒๑.
ธรรมที่เป็นยอดแห่งธรรมทั้งปวง
เรียกว่าอะไร ?
ก.
วิโสกะ ข.
วิรัติ
ค.
วิราคะ ง.
วิวัฏฏ์
๒๒.
สันตาปทุกข์
ทุกข์คือความร้อนรุ่ม
เกิดจากอะไร ?
ก.
ผลกรรมในอดีต ข.
หนาว
ร้อน หิว
ค.
ราคะ
โทสะ โมหะ ง.
ชาติ
ชรา มรณะ
๒๓. จิตเศร้าหมองเพราะอะไร
ทุคติจึงเป็นอันหวังได้ ?
ก.
กิเลส
ข.
อุปกิเลส
ค.
ความโกรธ ง.
ความหลง
๒๔.
ความบริสุทธิ์ภายใน
ย่อมมีได้ด้วยอะไร ?
ก.
ศีล ข.
สมาธิ
ค.
ปัญญา ง.
วิมุตติ
๒๕.
วิสุทธิ
คือความหมดจด เป็นจุดหมายปลายทางของอะไร
?
ก.
นิพพิทา ข.
นิพพาน
ค.
นิรามิสสุข ง.
นิสสรณวิมุตติ
๒๖.
ข้อใด
กล่าวถึงความหมายของอุทยัพพยญาณ
?
ก.
พิจารณาเห็นย่อยยับ ข.
พิจารณาเห็นเกิดดับ
ค.
พิจารณาเห็นโทษ ง.
พิจารณาเห็นน่ากลัว
๒๗.
อะไรปิดบังไว้
จึงไม่เห็นอนิจจตา
ความเป็นของไม่เที่ยง ?
ก.
ภารกิจต่าง
ๆ ข.
อิริยาบถ
ค.
สันตติ ง.
ฆนสัญญา
๒๘.
ปฏิบัติอย่างไร
จึงจะเข้าใกล้พระนิพพาน ?
ก.
ฝึกสมาธิ ข.
เห็นภัยในความประมาท
ค.
ฟังธรรมสม่ำเสมอ ง.
รักษาศีล
๕ ประจำ
๒๙.
ข้อใด
ไม่ใช่ความหมายของพระนิพพาน
?
ก.
ความดับอาสวกิเลส ข.
หาของเสียบแทงมิได้
ค.
ความสุขอย่างยิ่งยวด ง.
ไม่มีข้อถูก
๓๐.
อุปมาว่า
"
ดุจไฟสิ้นเชื้อแล้วย่อมดับไปเอง
"
กล่าวถึงเรื่องใด
?
ก.
ฌาน ข.
สมาบัติ
ค.
อภิญญา ง.
นิพพาน
๓๑.
ข้อใด
กล่าวถึงสอุปาทิเสสนิพพานธาตุได้ถูกต้อง
?
ก.
ปฏิบัติเพื่อละกิเลส ข.
สิ้นกิเลส
แต่ยังมีชีวิตอยู่
ค.
สิ้นกิเลส
สิ้นชีวิต ง.
สิ้นชีวิต
แต่ยังมีกิเลสอยู่
๓๒.
จุติอย่างไร
สุคติจึงเป็นอันหวังได้ ?
ก.
นึกถึงพระอรหันต์ ข.
เจริญเทวตานุสสติ
ค.
อธิษฐานจิตไปสวรรค์ ง.
ทำจิตไม่ให้เศร้าหมอง
๓๓.
วิมุตติ
ความหลุดพ้น มีลำดับต่อจากอะไร
?
ก.
นิพพิทา ข.
วิราคะ
ค.
วิสุทธิ ง.
สันติ
๓๔.
" จงพอกพูนทางแห่งสันติ
"
อะไรเรียกว่า
ทาง ?
ก.
ทวาร
๓ ข.
วิชชา
๓
ค.
สุจริต
๓ ง.
กุศลมูล
๓
๓๕.
กายคตาสติกัมมัฏฐาน
เป็นคู่ปรับนิวรณ์อะไร ?
ก.
พยาบาท ข.
กามฉันท์
ค.
วิจิกิจฉา ง.
ถีนมิทธะ
๓๖.
ใครบ้าง
ที่ไม่ถูกนินทา และสรรเสริญ
?
ก.
พระอรหันต์ ข.
พระพุทธเจ้า
ค.
พระอินทร์ ง.
ไม่มีเลยสักคน
๓๗. คนมีอารมณ์ฟุ้งซ่าน
หงุดหงิดง่าย ควรเจริญกัมมัฏฐาน
ข้อใด ?
ก.
กายคตาสติ ข.
เมตตากัมมัฏฐาน
ค.
พุทธานุสสติ ง.
กสิณ
๓๘.
จิตที่เป็นสมาธิ
มีลักษณะอย่างไร ?
ก.
มีอารมณ์เดียว ข.
ปราศจากนิวรณ์
ค.
มีจิตตั้งมั่น ง.
ถูกทุกข้อ
๓๙.
สมาธิ
เกิดขึ้นได้ในกัมมัฏฐานอะไรบ้าง
?
ก.
อนุสสติ
๑๐ ข.
กสิณ
๑๐
ค.
อสุภะ
๑๐ ง.
กัมมัฏฐานทั้งหมด
๔๐.
ข้อใด
เป็นมูลกัมมัฏฐาน ?
ก.
ดิน
น้ำ ลม ไฟ ข.
ผม
ขน เล็บ ฟัน หนัง
ค.
อนิจจัง
ทุกขัง อนัตตา ง.
กาย
เวทนา จิต ธรรม
๔๑.
ข้อใด
เป็นลักษณะของคนมีโทสจริต
?
ก.
ฉุนเฉียว
โกรธง่าย ข.
รักสวยรักงาม
ค.
เจ้าระเบียบ ง.
เชื่อคนง่าย
๔๒.
คนที่มีสติไม่มั่นคง
หลงๆ ลืมๆ ผิดๆ พลาดๆ ตรงกับจริตใด
ก.
วิตกจริต ข.
ศรัทธาจริต
ค.
โมหจริต ง.
พุทธิจริต
๔๓.
คนมีสติไม่มั่นคง
หลงๆ ลืมๆ ควรแก้ด้วยกัมมัฏฐานอะไร
ก.
มรณัสสติ ข.
อานาปานัสสติ
ค.
ภูตกสิณ ง.
พุทธานุสสติ
๔๔.
พระพุทธคุณข้อว่า
"
วิชชาจรณสัมปันโน
"
จัดเข้าในข้อใด
?
ก.
พระปัญญาคุณ ข.
พระบริสุทธิคุณ
ค.
พระมหากรุณาคุณ ง.
ถูกทั้งข้อ
ก.
และ
ข.
๔๕.
อนิจจตา
ความไม่เที่ยงปรากฏที่ไหน
?
ก.
ที่กายสังขาร ข.
ที่วจีสังขาร
ค.
ที่จิตตสังขาร ง.
ที่สังขารทั้งปวง
๔๖.
วิปัลลาส
คืออะไร ?
ก.
มีสติฟั่นเฟือน ข.
ถือผิดจากความเป็นจริง
ค.
อาการโรคจิต ง.
ความเสียใจอย่างแรง
๔๗.
เป้าหมายของการเจริญจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
คืออะไร ?
ก.
เพื่อรู้เท่าทัน ข.
เพื่อไม่ยึดมั่น
ค.
เพื่อปล่อยวาง ง.
ถูกทุกข้อ
๔๘.
ผู้เจริญวิปัสสนา
ย่อมได้รับผลสูงสุดอย่างไร
?
ก.
แสดงฤทธิ์ได้ ข.
ระงับนิวรณ์
ค.
เห็นนรกสวรรค์ ง.
บรรลุอริยผล
คำตอบ
:
ง
๔๙. พระพุทธเจ้าทรงแสดงคิริมานนทสูตร
แก่ใคร ?
ก.
พระอานนท์ ข.
พระคิริมานนท์
ค.
พระสารีบุตร ง.
พระราหุล
๕๐. ใจความสำคัญในคิริมานนทสูตรนั้น
ว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก.
กสิณ
๑๐ ข.
อสุภะ
๑๐
ค.
สัญญา
๑๐ ง.
อนุสสติ
๑๐
-
ผู้ออกข้อสอบ:๑.พระราชกวีวัดราชาธิวาส
๒.พระศรีวิสุทธิโมลีวัดไชยชุมพลชนะสงครามจ.กาญจนบุรี
๓.พระโสภิตกิตติธาดาวัดเฉลิมพระเกียรติจ.นนทบุรีตรวจ/ปรับปรุง:โดยสนามหลวงแผนกธรรม
Keine Kommentare:
Kommentar veröffentlichen