Donnerstag, 13. Mai 2021

๓. ศึกษาพระไตรปิฏก

. ศึกษาพระไตรปิฏกและทำหน้าที่สังคายนา


วิสุตาราม สีหานํ, สิกฺขิเตน ติเปฏกํ;

สนฺติเก นววสฺสานิ, สํคีติกิจฺจการินาฯ


"ได้ศึกษาพระไตรปิฏกของชาวสีหล

ในอารามที่จำพรรษาและทำหน้าที่

ด้านการสังคายนาสิ้น ปี ในสำนัก.


(กวิทปฺปณนีติ อารมฺภกถา )


……


ศัพท์น่ารู้ :


วิสุตารามสีหานํ (ของชาวสีหลในอารามที่จำพรรษา) วุสิต (อยู่แล้ว) + อาราม (วัด, อาราม) + สีห (ชาวสีหล, ภาษาสีหล) + นํ วิภัตติ 

 

สิกฺขิเตน (ศึกษาแล้ว, เรียนแล้ว) √สิกฺข-วิชฺโชปาทาเน+อิ+ > สิกฺขิต+นา วิเสสนะ ของ มยา (เรา) หมายถึง อาจารย์ผู้รจนาคัมภีร์นี้ 

ติเปฏกํ (ซึ่งพระไตรปิฏก) ติเปฏก+อํ


สนฺติเก (ในสำนัก, ในที่ใกล้) สนฺติก+สฺมึ? (ไม่แน่ใจ เพราะเห็นรูปสำเร็จเป็น สนฺติเก มาตลอด ฝากไว้ให้ช่วยคิดขอครับผม) 

นววสฺสานิ ( ปี, พรรษา) นว-วสฺส+โย นป. แปลง โย เป็น นิ แน่นอน § อโต นิจฺจํ. (รู ๑๙๖) ทำทีฆะ § โยสุ กตนิการโลเปสุ ทีฆํ. (รู ๑๔๗) 


สํคีติกิจฺจการินา (ผู้มีทำกิจคือการสังคายนา, ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสังคายนา) สํคีติ-กิจฺจ-การี+นา


..


 

Keine Kommentare: