Montag, 17. Mai 2021

๗. ความหวังของผู้แต่งคัมภีร์

. ความหวังของผู้แต่งคัมภีร์


ติฏฺฐตํ อยํ เม คนฺโถ, สุสาโร ยาว สาสนํ;

ติฏฺฐเตว สุเตสีนํ, สุสารํ สุปกาสยํฯ


"ขอคัมภีร์อันมีสาระที่ดีของข้าพเจ้านี้

ประกาศสาระประโยชน์ที่ดีงาม

แก่นักศึกษาทั้งหลาย จงดำรงอยู่ได้

ตราบเท่าพระศาสนาดำรงอยู่นั่นเทียว.“


(กวิทปฺปณนีติ  อารมฺภคาถา )


..


ศัพท์น่ารู้ :


ติฏฺฐตํ (จงดารงอยู่, จงตั้งอยู่) √ฐา-คตินิวตฺติมฺหิ++ตํ แปลง ฐา เป็น ติฏฺฐ ไดบ้าง § ฐา ติฏฺโฐ. (รู ๔๙๒)

อยํ (นี้) อิม+สิ แปลง อิม เป็น อยํ และลบ สิ วิภัตติ อยํ ในปุง. และ อิต.  § อนปุํสกสฺสายํ สิมฺหิ. (รู ๒๑๘) 

เม (ของเรา, ข้องข้าพเจ้า ) มยฺหํ+ แปลง ตุมฺห กับ วิภัตติ ฝ่ายเอก. เป็น เต, เม ได้บ้าง § เตเมกวจเนสุ . (รู ๒๔๗)
คนฺโถ (คัมภีร์, หนังสือ) คนฺถ+สิ


สุสาโร (มีสาระทีดี) สุสาร+สิ 

ยาว (เพียงใด, ตราบเท่า, จนถึง) เป็นนิบาต 

สาสนํ (พระศาสนา, คำสอน) สาสน+สิ นป.


ติฏฺฐเตว ~ ติฏฺฐติ+เอว (ย่อมดารงอยู่นั่นเทียว) √ฐา++ติ, เอว เป็นนิบาต 

สุเตสีนํ (แก่ผู้แสวงหาสูตรเป็นปกติ, นักศึกษา .) สุต+เอสี > สุเตสี+นํ


สุสารํ (ทีมีสาระดีงาม) สุสาร+อํ 

สุปกาสยํ (ประกาศชัดอยู่, ชี้แจ้งอยู่) สุ++√กาส-ปกาสเน+ณย+อนฺต > สุปกาสยนฺต+สิ 


..


 

Keine Kommentare: