Freitag, 25. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๓๒ ธรรมชาติของรูปขันธ์ (๒)

 

๑๑๗. สถานที่ไม่ควรอยู่นาน



 ๑๑๗. สถานที่ไม่ควรอยู่นาน


ยสฺมึ เทเส สมฺมาโน, ปิโย พนฺธโว;

วิชฺชาคโม โกจิ, ตตฺถ ทิวสํ วเสฯ


ที่ใด ไม่มีความนับถือกัน,

ไม่มีความรักให้กัน ไม่มีญาติพวกพ้อง;

ไม่มีการศึกษาสิ่งเป็นประโยชน์เลย,

ที่นั้น ไม่ควรอยู่นานสิ้นวันหนึ่ง.“


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๑๗ โลกนีติ ๑๑๔ มหารหนีติ ๖๙ ธัมมนีติ ๘๒ จาณักยนีติ ๓๗)


..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 7 ปี 2554

 

Donnerstag, 24. September 2020

พระคันธสาราภิวงศ์ วิสุทธิมรรค ตอน ๓


พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๓๑ ธรรมชาติของรูปขันธ์ (๑)

 

๑๑๖. แรงใจจากใบหญ้า



 ๑๑๖. แรงใจจากใบหญ้า


โย สีตญฺจ อุณฺหญฺจ, ติณา ภิยฺโย มญฺญติ;

กรํ ปุริสกิจฺจานิ, โส สุขํ วิหายติฯ


ผู้ใดไม่สำคัญความหนาว 

และความร้อน, ยิ่งไปกว่าหญ้า; 

ทํากิจทั้งหลายของบุรุษอยู่,

ผู้นั้นย่อมไม่เสื่อม จากความสุขเลย.“


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๑๖, มหารหนีติ ๖๖, ธัมมนีติ ๑๙๙  นรทักขทีปนี ๑๗๒ ที. ปา. ๑๑/๑๘๕ สิงคาลกสูตร )


..

ปัญหาและเฉลย(แปลไทยเป็นมคธ) ประโยค ป.ธ. 7 ปี 2554

 

Mittwoch, 23. September 2020

รู้จักบ้านของตัวเองไว้ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) 601203

พระคันธสาราภิวงศ์ วิสุทธิมรรค ตอน ๒

พระคันธสาราภิวงศ์ วิสุทธิมรรค ตอน ๑

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๓๐ เจตสิก และการแบ่งประเภทเจตสิก (๙)

 

๑๑๕. ข้ออ้างทางเสื่อม



 ๑๑๕. ข้ออ้างทางเสื่อม


อติสีตํ อติอุณฺหํ, อติสายมิทํ อหุ;

อิติ วิสฺสฏฺฐกมฺมนฺเต, อตฺถา อจฺเจนฺติ มาณเวฯ


ประโยชน์ทั้งหลาย ย่อมล่วงเลยชายหนุ่ม

ที่ละทิ้งการงาน ด้วยอ้างเลศว่า

อากาศหนาวเกินไป อากาศร้อนเกินไป

เวลานี้เย็นค่ำเสียแล้ว ดังนี้เป็นต้น.“


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๑๕ มหารหนีติ ๖๕, ธัมมนีติ ๒๓๐ นีติมัญชรี ที. ปา. ๑๑/๑๘๕ สิงคาลกสูตร)


..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 6 ปี 2554

 

Dienstag, 22. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๒๙ เจตสิก และการแบ่งประเภทเจตสิก (๘)

 

๑๑๔. คบคนดีเป็นศรีแก่ชีวิต






 ๑๑๔. คบคนดีเป็นศรีแก่ชีวิต


ปาปมิตฺเต วิวชฺเชตฺวา, ภเชยฺยุตฺตมปุคฺคลํ;

โอวาเท จสฺส ติฏฺเฐยฺย, ปตฺเถนฺโต อจลํ สุขํ


บุคคลพึงเว้นบาปมิตรแล้วคบหากัลยาณมิตร, 

และเมื่อหวังความสุขอันไม่หวั่นไหว 

พึงตั้งอยู่ในโอวาทของกัลยาณมิตรนั้นเถิด.”


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๑๔, มหารหนีติ ๖๒, ธัมมนีติ ๑๔๕, ขุ. เถร. ๒๖/๓๒๒ วิมลเถร)


..