Mittwoch, 10. Juni 2020

๑๓. ผู้จะเสื่อมจากพระสัทธรรม


๑๓. ผู้จะเสื่อมจากพระสัทธรรม

ครูปเทสหีโน หิ, อตฺถสารํ วินฺทติ;
อตฺถสารวิหีโน โส, สทฺธมฺมา ปริหายติฯ

จริงอยู่ ผู้ขาดคำชี้แนะของครูอาจารย์
ย่อมไม่ประสบอรรถะและสาระ
เขาผู้เสื่อมจากอรรถะและสาระเสียแล้ว
ย่อมจะเสื่อมจากพระสัทธรรม.“

(กวิทัปปณนีติ, หมวดบัณฑิต, ๑๓)

..

ปัญหาและเฉลย(สัมพันธ์ไทย) ประโยค ป.ธ. 3 ปี 2557


Dienstag, 9. Juni 2020

พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์


๑๒. เคล็ดลับการเรียนพระบาฬี


๑๒. เคล็ดลับการเรียนพระบาฬี

อจินฺติเย สาฏฺฐกเถ, ปณฺฑิโต ชินภาสิเต;
อุปเทสํ สทา คณฺเห, ครุํ สมฺมา อุปฏฺฐหํฯ
ตสฺมา สาฏฺฐกเถ ธีโร, คมฺภีเร ชินภาสิเต;
อุปเทสํ สทา คณฺเห, ครุํ สมฺมา อุปฏฺฐหํฯ

เมื่อพระบาฬีและอรรถกถาอันตนคิดไม่ออก
ผู้มีปัญญาพึงปรนนิบัติครูโดยเคารพและถือเอา
คำแนะนำในกาลทุกเมื่อ. เพราะเหตุนั้น
นักปราชญ์เมื่อรับใช้ครูโดยเคารพ พึงรับเอา
คำสั่งสอนในพระดำรัสของพระชินเจ้าที่ลึกซึ้ง
พร้อมกับอรรถกถา ทุกเมื่อเทอญ.“

(กวิทัปปณนีติ, หมวดบัณฑิต, ๑๒)

..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 3 ปี 2557


Montag, 8. Juni 2020

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม


๑๑. คำติที่ดีกว่าคำชม


๑๑. คำติที่ดีกว่าคำชม

ทุมฺเมเธหิ ปสํสา , วิญฺญูหิ ครหา ยา;
ครหาว เสยฺโย วิญฺญูหิ, ยญฺเจ พาลปฺปสํสนาฯ

การสรรเสริฐจากคนพาลกับ
การติเตียนจากนักปราชญ์ 
การติเตียนจากนักปราชญ์ประเสริฐกว่า 
การสรรเสริญจากคนพาลระประเสริฐอะไร.“

(กวิทัปปณนีติ, หมวดบัณฑิต, ๑๑, ขุ. เถร. ๒๖/๓๘๒)

..

ปัญหาและเฉลย(บาลีไวยากรณ์) ประโยค 1-2 ปี 2557


Sonntag, 7. Juni 2020

เรียนปทรูปสิทธิ ออนไลน์กับพระมหาสมปอง มุทิโต (ตอนที่ 1-3)








๑๐. บัณฑิตไม่ควรพูดเหลวไหล

๑๐. บัณฑิตไม่ควรพูดเหลวไหล

ภุญฺชนตฺถํ กถนตฺถํ, มุขํ โหตีติ โน วเท;
ยํ วา ตํ วา มุขารุฬฺหํ, วจนํ ปณฺฑิโต นโรฯ

ชนผู้เป็นบัณฑิต จะไม่พูดคำเหลวไหล
ที่งอกจากปาก ด้วยคิดว่า 
มีปากเอาไว้สำหรับกิน
และมีเอาไว้สำหรับพูด.“

(กวิทัปปณนีติ, หมวดบัณฑิต, ๑๐, นรทักขทีปนี ๙๐)

..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค 1-2 ปี 2557


Samstag, 6. Juni 2020

ปทานุกรมกิริยาอาขยาต ตามลำดับอักษร


๙. ความรู้ดีกว่าทรัพย์



. ความรู้ดีกว่าทรัพย์

สิปฺปสมํ ธนํ นตฺถิ, สิปฺปํ โจรา คณฺหเร;
อิธ โลเก สิปฺปํ มิตฺตํ, ปรโลเก สุขาวหํฯ

ทรัพย์ที่เสมอด้วยวิชาความรู้ ย่อมไม่มี, 
วิชาความรู้โจรปล้นเอาไปไม่ได้,
วิชาความรู้เป็นกัลยามิตรในโลกนี้, 
และเป็นเหตุนำสุขมาให้ในโลกหน้า.“

(กวิทัปปณนีติ, หมวดบัณฑิต, โลกนีติ , ธัมมนีติ ๑๗)

..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 5 ปี 2556 สอบครั้งที่ 2