Samstag, 12. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๑๙ จิต และประเภทของจิต (๑๖)

 

๑๐๕. หลักการคบคน



 ๑๐๕. หลักการคบคน


นิหียติ ปุริโส นิหีนเสวี,

หาเยถ กทาจิ ตุลฺยเสวี;

เสฏฺฐมุปนมํ อุเทติ ขิปฺปํ,

ตสฺมา อตฺตโน อุตฺตรึ ภเชฯ


บุรุษผู้คบหากับคนเลวทราม ย่อมเสื่อม, 

ผู้คบหาคนที่เสมอกับตน ย่อมไม่เสื่อมเลย; 

เมื่อจะคบคนที่ดีกว่าตน ควรรีบไปคบหา, 

เพราะฉะนั้น จงคบแต่ผู้ที่ดีกว่าตนเถิด.“


(กวิทปฺปณนีติ ๑๐๕, ขุ. ชา. ๒๗/๙๘๒ มโนชชาดก)

ปัญหาและเฉลย(แปลไทยเป็นมคธ) ประโยค ป.ธ. 6 ปี 2553

 

Freitag, 11. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๑๘ จิต และประเภทของจิต (๑๕)


๑๐๔. รู้กับไม่รู้ทำอันไหนแย่กว่ากัน


๑๐๔. รู้กับไม่รู้ทำอันไหนแย่กว่ากัน

สพฺพตฺถ สตฺถโตเยว, คุณโทสวิเจจนํ;
ยํ กโรติ วินาสตฺถํ, สาหสํ กิมโตธิกํ

การแยกแยกคุณและโทษโดยหลักการ
ในทุกแง่ทุกมุมแล้ว ย่อมกระทำกรรมใดเพื่อให้
เกิดความเสียหาย กรรมนั้นย่อมร้ายแรงยิ่งกว่า
กรรมของคนผู้ไม่รู้จักคุณและโทษ ได้อย่างไร.

(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๔)

..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 9 ปี 2552


Donnerstag, 10. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๑๗ จิต และประเภทของจิต (๑๔)


๑๐๓. คนไม่รู้คุณและโทษ


๑๐๓. คนไม่รู้คุณและโทษ

คุณโทสมสตฺถญฺญู, ชโน วิภชเต กถํ;
อธิกาโร กิมนฺธสฺส, รูปเภโทปลทฺธิยํ

คนไม่ความรู้ จะแยกแยะคุณและโทษ
ได้อย่างไร? คนที่ตาบอดก็เช่นกัน จะไปตัดสิน
แยกแยะรูปที่ตนได้สัมผัส ได้หรือ?“

(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๓)

..

ปัญหาและเฉลย(แปลไทยเป็นมคธ) ประโยค ป.ธ. 9 ปี 2552


Mittwoch, 9. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๑๖ จิต และประเภทของจิต (๑๓)


๑๐๒. ศัตรูในครอบครัว


๑๐๒. ศัตรูในครอบครัว

อิณกตฺตา ปิตา สตฺตุ, มาตา พฺยภิจารินี;
ภริยา รูปวตี สตฺตุ, ปุตฺโต สตฺตุ อปณฺฑิโต

บิดา ผู้ก่อหนี้สิน ชื่อว่าเป็นศัตรู,
มารดา ผู้ประพฤติชั่ว ชื่อว่าเป็นศัตรู;
ภรรยา ผู้มีรูปงาม ชื่อว่าเป็นศัตรู,
บุตร ที่ขาดปัญญา ชื่อว่าเป็นศัตรู.“

(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๒ จาณักยนีติ ๔๕)

..

ปัญหาและเฉลย(แต่งไทยเป็นมคธ) ประโยค ป.ธ. 9 ปี 2552


Dienstag, 8. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๑๕ จิต และประเภทของจิต (๑๒)


๑๐๑. ลูกดีเป็นศรีแก่ตระกูล


๑๐๑. ลูกดีเป็นศรีแก่ตระกูล

เอเกนาปิ สุรุกฺเขน, ปุปฺผิเตน สุคนฺธินา;
วาสิตํ กานนํ สพฺพํ, สุปุตฺเตน กุลํ ยถา

เพราะต้นไม้พันธุ์ดี แม้ต้นเดียว,
ที่ผลิดอกบานสะพรั่งทั้งมีกลิ่นหอม;
ป่าทั้งหมดก็พลอยมีกลิ่นหอมไปด้วย ฉันใด,
เพราะลูกดีมีความประพฤติที่ดีงาม,
วงศ์ตระกูล ก็พลอยมีชื่อเสียงไปด้วย ฉันนั้น.“

(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๑ จาณักยนีติ ๑๓)

..

ศัพท์น่ารู้ :

เอเกนาปิ ตัดบทเป็น เอเกน+อปิ 
สุรุกฺเขน (ต้นไม้พันธุ์ดี, -สมบูรณ์, -ไม้แก่นหอม), สุรุกฺข+นา ในจาณักยนีติ เป็น สุวกฺเขน
ปุปฺผิเตน (ที่ออกดอก, บาน) √ปุปฺผ+อิ+ > ปุปฺผิต+นา, ปุปฺผ-วิกาเส ในอรรถบาน, ออกดอก
สุคนฺธินา (ที่มีกลิ่นหอม) สุคนฺธี+นา
วาสิตํ (อบแล้ว, รวมกัน) √วาส+อิ+ > วาสิต+สิ, วาส-สุรภีกรเณ ในอรรถทำให้มีกลิ่นหอม
กานนํ (ป่าไม้) กานน+สิ 
สพฺพํ (ทั้งปวง, ทั้งหมด) สพฺพ+สิ ในจาณักยนีติบาทคาถาที่ นี้ เป็น วาสิตสฺส วนํ สพฺพํ.
สุปุตฺเตน (บุตรที่ดี) สุปุตฺต+นา 
กุลํ (ตระกูล, สกุล) กุล+สิ
ยถา (เหมือน, ดุจ) นิบาตบอกการเปรียบเทียบ

..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 8 ปี 2552