Donnerstag, 17. September 2020

๑๑๐. ลักษณะของบัณฑิต


 ๑๑๐. ลักษณะของบัณฑิต


อตฺถํ มหนฺตมาปชฺช, วิชฺชํ สมฺปตฺติเมว ;

จเรยฺยามานถทฺโธ โย, ปณฺฑิโต โส ปวุจฺจติ


ผู้ใดประสบประสบประโยชน์ที่ยิ่งใหญ่,

มีวิชาควารู้ดี และลุถึงสมบัติอันประเสริฐ;

ประพฤติตนไม่ถือตัวและไม่แข็งกระด้าง,

เหล่านักปราชญ์เรียกผู้นั้นว่า บัณฑิต.“


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๑๐ มหารหนีติ ๓๔, ธัมมนีติ ๓๘)


..

ปัญหาและเฉลย(แปลไทยเป็นมคธ) ประโยค ป.ธ. 8 ปี 2553

 

Mittwoch, 16. September 2020

Life Story of Buddha

 

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๒๓ เจตสิก และการแบ่งประเภทเจตสิก (๒)

 

๑๐๙. สิ่งที่หาได้ยาก 4 อย่าง


 ๑๐๙. สิ่งที่หาได้ยาก 4 อย่าง


ทุลฺลภํ ปากติกํ วากฺยํ, ทุลฺลโภ เขมกโร สุโต;

ทุลฺลภา สทิสี ชายา, ทุลฺลโภ สชโน ปิโย


คำพูดที่ตรงไปตรงมา หาได้ยาก,

นักปราชญ์ผู้ทำความเกษม หาได้ยาก;

ภรรยาผู้ที่เสมอกัน หาได้ยาก,

ญาติมิตรผู้เป็นที่รัก หาได้ยาก.“


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๙, นรทักขทีปนี ๒๘๕, จาณักยนีติ ๕๔)


..

ปัญหาและเฉลย(แต่งฉันท์ภาษามคธ) ประโยค ป.ธ. 8 ปี 2553

 

Dienstag, 15. September 2020

๑๐๘. ผู้สมควรได้ยศ

๑๐๘. ผู้สมควรได้ยศ


ปณฺฑิโต สีลสมฺปนฺโน, สณฺโห ปฏิภานวา;

นิวาตวุตฺติ อถทฺโธ, ตาทิโส ลภเต ยสํ


คนมีปัญญาถึงพร้อมด้วยศีล, 

เป็นคนละเอียดและมีไหวพริบ; 

มีความประพฤติเจียมตนไม่กระด้าง, 

บุคคลผู้เช่นนั้นย่อมได้ยศ.“


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๘, นรทักขทีปนี ๑๗๓, ที. ปา. ๑๑/๒๐๕)


..

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๒๒ เจตสิก และการแบ่งประเภทเจตสิก (๑)

 

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 7 ปี 2553

 

Montag, 14. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๒๑ จิต และประเภทของจิต (๑๘)

 

๑๐๗. เหตุเจริญแห่งเกียรติยศ

 

๑๐๗. เหตุเจริญแห่งเกียรติยศ


ฉนฺทา โทสา ภยา โมหา, โย ธมฺมํ นาติวตฺตติ;

อาปูรติ ตสฺส ยโส,  สุกฺกปกฺเขว จนฺทิมา


ผู้ใดไมป่ระพฤติล่วงธรรม เพราะความรัก 

ความชัง ความกลัว และเพราะความหลง,

ยศย่อมเจริญบริบูรณ์แก่ผู้นั้น, 

ดุจดวงจันทร์ในข้างขึ้น ฉะนั้น.“


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๗ ที. ปา. ๑๑/๑๗๗)


..

ปัญหาและเฉลย(แปลไทยเป็นมคธ) ประโยค ป.ธ. 7 ปี 2553

 

Sonntag, 13. September 2020

พระอภิธรรมใครว่ายาก ชุดที่ ๒๐ จิต และประเภทของจิต (๑๗)

 

๑๐๖. อย่าง่อนแง่น อย่าคลอนแคลน


๑๐๖. อย่าง่อนแง่น อย่าคลอนแคลน


ปจฺจุปฺปนฺนญฺจ โย ธมฺมํ, ตตฺถ ตตฺถ วิปสฺสติ;

อสํหีรํ อสํกุปฺปํ, ตํ วิทฺวา มนุพฺรูหเยฯ


บุคคลผู้มีปัญญา ย่อมเห็นแจ้งธรรมในปัจจุบัน, 

ไม่ง่อนแง่น ไม่คลอนแคลนในธรรมนั้นๆ, 

พึงเจริญธรรมนั้นเนืองๆ ให้ปรุโปร่งเถิด.


(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๐๖, . อุ. ๑๔/๔๒๗, ๕๓๔, ๕๔๔, ๕๕๒, ๕๖๓, ๕๖๗)


..

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. 6 ปี 2553