Sonntag, 4. Oktober 2020
Samstag, 3. Oktober 2020
๑๒๕. ทรัพย์ที่จำเป็น ๔ อย่าง
๑๒๕. ทรัพย์ที่จำเป็น ๔ อย่าง
วิเทเส ตุ ธนํ วิชฺชา, พฺยสเนสุ ธนํ มติ;
ปรโลเก ธนํ ธมฺโม, สีลํ สพฺพตฺถ เว ธนํฯ
“วิชาเป็นทรัพย์ที่จำเป็นในต่างแดน,
ปัญญาเป็นทรัพย์ที่จำเป็นในยามมีภัย;
ธรรมเป็นทรัพย์จำเป็นในปรโลก,
ศีลเป็นทรัพย์ที่จำเป็นในที่ทั้งปวง.“
(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๒๕)
..
Freitag, 2. Oktober 2020
๑๒๔. เครื่องประดับที่ควรมี
หตฺถสฺส ภูสนํ ทานํ, สจฺจํ กณฺฐสฺส ภูสนํ;
โสตสฺส ภูสนํ สตฺถํ, ภูสเน กึ ปโยชนํฯ
“ทาน เป็นเครื่องประดับมือ,
สัจจะ เป็นเครื่องประดับคอ;
ความรู้ เป็นเครื่องประดับของหู,
ประโยชน์อะไรจักมีในการประดับ.“
(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๒๔)
..
Donnerstag, 1. Oktober 2020
อภิธานปฺปทีปิกาฏีกา (๓) สามญฺญกณฺฑ
อภิธานปฺปทีปกาฏีกา
๑. วิเสสฺยาธีนวคฺควณฺณนา
๖๙๑. อิห วกฺขมาเน สามญฺญกณฺเฑ สางฺโคปางฺเคหิ องฺคอุปางฺคทฺวยสหิเตหิ วิเสสฺยาธีเนหิ วิเสสฺยายตฺเตหิ วิเสสนสทฺเทหิ โสภนาทีหิ สํกิณฺเณหิ อญฺญมญฺญวิชาติยตฺเถหิ ทพฺพกฺริยาคุณาทีหิ อเนกตฺเถหิ สมยวณฺณาทีหิ อพฺยเยหิ จิรสฺสมาทีหิ จ กมา กมโต วคฺคา กถฺยนฺเต, เต จ ปุพฺพวคฺคสนฺนิสฺสยา, ตถา หิ โสภนาทโย เทวมนุสฺสาทีสุ วิเสสนภาเวน สมฺพนฺธา, กฺริยาทโย ตุ ตทาธารตาย, สมยาทโย วาจกตาย, จิรสฺสมาทโย ตํกฺริยาวิเสสนภาเวน, ตโตเยว สาธารณตฺตา สามญฺญกณฺฑมิทํฯ
๖๙๒. อิห สตฺเถ ภิยฺโย รูปนฺตรา ลิงฺควินิจฺฉโย, โส อตฺราปิ วคฺเค ภิยฺโย รูปนฺตราเยวาติ วิปฺปฎิปตฺตินิราสตฺถํ พฺยาปกนฺยายมาห ‘‘คุณิ’’จฺ จาทินาฯ ตสฺสตฺโถ – วิเสสนภูตา สพฺเพ คุณสทฺทา, ทพฺพสทฺทา, กฺริยาสทฺทา จ วิเสสฺยาธีนภาเวน เหตุนาเยว, น ภิยฺโย รูปนฺตราปิ วิเสสนสทฺเทน สมลิงฺคิโน สิยุนฺติ, ยถา – โสภนา อิตฺถี, โสภโน ปุริโส, โสภนํ จิตฺตํฯ
๖๙๓-๖๙๖. สุภนฺตํ โสภเนฯ สุภ โสภเน, ยุฯ รุจ ทิตฺติยํ, อิโรฯ สาธ สํสิทฺธิยํ, อุฯ มนํ โตเสตีติ มนุญฺญํฯ ญา ปริมาณโตสนนิสามเนสุ, อนฺตสฺสุกาโร, มนํ อา ภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญํ, ตทา ‘‘มโน อญฺญ’’นฺติ เฉโท, อาโลโปฯ จร คติภกฺขเนสุ, ณฺวุ, จรติ จิตฺตเมตฺถาติ จารุฯ สุฎฺฐุ ทรียเต สุนฺทรํ, ทร ทารเณ ฯ วคฺค คมเน, อุ, วคฺคุฯ มโน รมติ อสฺมึฯ กมุ อิจฺฉายํ, โตฯ หรติ จิตฺตํ หารี, ณีฯ มน ญาเณ, ชุ, มโน ชวติ ยสฺมึ วา มญฺชุ, นโลโปฯ ปิยสีลยุตฺตตาย เปสลํ, ปิยสฺส เป, อีสฺสตฺตํฯ ภทิ กลฺยาเณ, โทฯ วา คติยํ, โมฯ กล สงฺขฺยาเน, ยาโณฯ มนํ อปฺเปติ วเฑฺฒตีติ มนาปํ, มโน อปฺโปติ ยสฺมินฺติ วา มนาปํ, อาป ปาปุณเน, อปาทิปุพฺโพ จฯ ลภิตพฺพนฺติ ลทฺธํ, โต, สกตฺเถ โกฯ สุภตีติ สุภํ, สุนฺทเรน สภาเวน ภวตีติ วา สุภํฯ
๑๒๓. ธรรมะย่อมชนะอธรรม
๑๒๓. ธรรมะย่อมชนะอธรรม
ธมฺโม ชเย โน อธมฺโม, สจฺจํ ชยติ นาสจฺจํ;
ขมา ชยติ โน โกโธ, เทโว ชยติ นาสูโรฯ
“ธรรมย่อมชนะ อธรรมย่อมพ่ายแพ้,
สัจจะย่อมชนะ อสัจจะย่อมพ่ายแพ้
ความอดทนย่อมชนะ ความโกธรย่อมพ่ายแพ้,
เทวดาย่อมชนะ อสูรย่อมพ่ายแพ้.“
(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๒๓)
..
Mittwoch, 30. September 2020
อภิธานปฺปทีปิกาฏีกา (๒) ภูกณฺฑ
อภิธานปฺปทีปกาฏีกา
๑. ภูมิวคฺควณฺณนา
๑๘๐. อิธ ภูกณฺเฑ สางฺโคปางฺเคหิ ภูมฺยาทีหิ ทสหิ, ปาตาเลน จาติ เอกาทสหิ โกฎฺฐาเสหิ กมโต วคฺคา ภูมิวคฺคาทินามกา วคฺคา วุจฺจนฺเตฯ สปฺปธาโนปการกานิ องฺคานิ ขาราทีนิ, องฺคานํ อุปการกานิ จ อุปงฺคานิ อทฺธาทีนิฯ
๑๘๑. สาทฺธปชฺเชน ภูมิยา นามานิฯ วสูนิ รตนานิ ธารยตีติ วสุนฺธราฯ ขมุ สหเน, ขสฺส โฉ, ฉมา, อถ วา ฉิ เฉทเน, สตฺตานมโธปตนํ ฉินฺทตีติ ฉมา, โม, อิตฺถิยมา จฯ ภวนฺตฺยสฺสํ ภูตานีติ ภูมิฯ ภู สตฺตายํ, มิฯ ปุถอิติ ปาฎิปทิเก ฐิเต นทาทิ, อี, ปุถสฺส ปุถุอาเทเส, วุทฺธิมฺหิ จ กเต ปุถวีฯ อุสฺสุวาเทเส ปุถุวีฯ ปถาเทเส ตุ ปถวี, อิมสฺมึ ปกฺเข อวาคโม, อถ วา ถว คติยํ, ปถวติ เอตฺถาติ ปถวี, นทาทิ, สพฺพตฺถ ปตฺถรตีติ วา ปถวี, ถร สนฺถรเณ ปปุพฺโพ, รสฺส โว, นทาทิ, ปุถวี, อสฺสุฯ
‘‘มธุโน เกฎภสฺสาปิ, เมทมํสปริปฺลุตา;
เตนายํ เมทินี เทวี, วุจฺจเต พฺรหฺมวาทิภี’’ติ [จินฺตามณิฎีกา ๑๑.๓]ฯ –
วจนโต เมทโยคา เมทินี, อี, อินี จฯ มิท สฺเนหเน วา, ยุ, นทาทิ, อิสฺเสตฺตญฺจฯ มห ปูชายํ, นทาทิฯ วิตฺถิณฺณตฺตา อุพฺพี, นทาทิ, อวติ ภูตานีติ วา อุพฺพี, อสฺสุฯ วสูนิ สนฺตฺยสฺสํ วสุมตีฯ คจฺฉนฺติ ยสฺสํ โลกา, สา โค, ปุมิตฺถิยํฯ กา สทฺเท, กายติ เอตฺถ, กายติ มารวิชยกาเลติ วา กุ, อุฯ วสูนิ ธารยตีติ วสุธาฯ สพฺพํ โลกํ ธรยตีติ ธรณี, ยุ, นทาทิฯ ธรตีติ ธรา, อิตฺถิยํ อาฯ คมุ คมเน, คจฺฉนฺตฺยสฺสํ ชคตี, อนฺตปจฺจโย, คสฺส ทฺวิตฺตํ, ชตฺตญฺจ, นโลโป, นทาทิฯ ภู สตฺตายํ, ริ, นทาทิ, กฺวิมฺหิ ภูฯ ภูเต สตฺเต ธรตีติ ภูตโรฯ อว รกฺขเณ, ยุ, นทาทิ, อวนีฯ
๑๒๒. แหล่งที่มาของความรู้
อาจริยา ปาทมาทตฺเต, ปาทํ สิสฺโส สชานนา;
ปาทํ สพฺรหฺมจารีหิ, ปาทํ กาลกฺกเมน จฯ
“ในการศึกษาศิษย์ได้ความรู้หนึ่งส่วนจากครู,
ส่วนหนึ่งได้จากปัญญาของตนเอง;
ส่วนหนึ่งได้จากเพื่อนร่วมชั้น,
และอีกส่วนหนึ่งได้จากกาลเวลา.“
(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๒๒)
..