Sonntag, 25. Oktober 2020
Samstag, 24. Oktober 2020
๑๔๗. ถึงจะทุกข์ก็อย่าทิ้งธรรม
๑๔๗. ถึงจะทุกข์ก็อย่าทิ้งธรรม
สุกฺโขปิ จนฺทนตรุ น ชหาติ คนฺธํ,
นาโค คโต นรมุเข น ชหาติ ลีฬํ;
ยนฺตคโต มธุรสํ น ชหาติ อุจฺฉุ,
ทุกฺโขปิ ปณฺฑิตชโน น ชหาติ ธมฺมํฯ
„ไม้จันทร์ ถึงจะแห้ง ก็ไม่ทิ้งกลิ่นหอม
ช้าง ไปสู่ที่ต่อหน้าชุมชน ย่อมไม่ทิ้งลีลา
อ้อย มาสู่หนีบยนต์ ย่อมไม่ทิ้งรสหวาน
บัณฑิตชน แม้จะตกทุกข์ ย่อมไม่ทิ้งธรรม.“
(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๔๗ โลกนีติ ๔๕ ธัมมนีติ ๓๓๗)
..
Freitag, 23. Oktober 2020
๑๔๖. ผู้ควรนับเข้าในหมู่นักกวี
๑๔๖. ผู้ควรนับเข้าในหมู่นักกวี
โย สทฺทสตฺถกุสโล กุสโล นิฆณฺฑุ,
ฉนฺโท อลงฺกติสุ นิจฺจกตาภิโยโค;
โส ยํ กวิตฺตวิกโลปิ กวีสุ สงฺขฺยํ,
โมคฺคยฺห วินฺทติ หิ กิตฺติ’มมนฺทรูปํฯ
„ชนผู้ฉลาดในคัมภีร์ไวยากรณ์
ฉลาดในนิฆัณฑุศาสตร์ฉันทศาสตร์
และอลังการศาสตร์ กระทำความเพียรเป็นนิจศีล
แม้เขาจะบกพร่องจากความเป็นกวี ก็ยังหยั่งลงสู่
การนับเข้าในหมู่กวี ย่อมจะได้รับเกียรติคุณหาน้อยไม่.“
(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๔๖ สุโพธาลังการ ๑๖๓ ปริจเฉทที่ ๓)
..
Donnerstag, 22. Oktober 2020
นิรุตฺติทีปนีปาฐ ๗.กิตกณฺฑ
๗. กิตกณฺฑ
ธาตฺวนฺตวิการราสิ
วิสํโยครูปราสิ
อถ ธาตุปจฺจยสํสิทฺธํ กาล, การก, ลิงฺค, สงฺขฺยา, กฺริยาเภททีปกํ ทพฺพปฺปธานวาจกํ กิตกปทํ ทีปิยเตฯ
ตตฺถ อตีตาทโย กาลเภโท นามฯ
กตฺตา จ กมฺมญฺจ กรณญฺจ สมฺปทานญฺจ อปาทานญฺจ อธิกรณญฺจ ภาโว จาติ สตฺต สาธนานิ การกเภโท นามฯ
อิตฺถิลิงฺคาทีนิ ลิงฺคเภโท นามฯ
เอกตฺต, พหุตฺตเภโท สงฺขฺยาเภโท นามฯ
ตสฺสีลกฺริยา, ตทฺธมฺมกฺริยา, ตสฺสาธุการกฺริยา, อตฺตมานกฺริยา, อภิกฺขญฺญกฺริยา, อรหกฺริยา, สกฺกกฺริยา, เปสนกฺริยา, อติสคฺคกฺริยา, ปตฺตกาลาโรจนกฺริยา, อวสฺสมฺภาวีกฺริยาทโย กฺริยาเภโท นามฯ
๑๔๕. ผู้แตกฉานในพระไตรปิฏก
๑๔๕. ผู้แตกฉานในพระไตรปิฏก
สทฺทตฺถลกฺขเณ เภที, โย โย นิจฺฉิตลกฺขเณ;
โส โส ญาตุมกิจฺเฉน, ปโหติ ปิฏกตฺตเยฯ
„ผู้ใดแตกฉานลักษณะศัพท์และอรรถ
และลักษณะแห่งบทที่ตนชี้ขาดแล้ว
ผู้นั้นย่อมเพียงพอเพื่อจะรู้เนื้อความ
ในพระไตรปิฏกได้โดยไม่ยากนัก.“
(กวิทัปปณนีติ หมวดบัณฑิต ๑๔๕)
..
Mittwoch, 21. Oktober 2020
นิรุตฺติทีปนีปาฐ ๖.อาขฺยาตกณฺฑ
๖. อาขฺยาตกณฺฑ
สุทฺธกตฺตุรูป
อถ ธาตุปจฺจยสํสิทฺธํ กาล, การก, ปุริส, สงฺขฺยาเภททีปกํ ลิงฺคเภทรหิตํ กฺริยาปธานวาจกํ ตฺยาทฺยนฺตนามกํ อาขฺยาตปทํ ทีปิยเตฯ
ตตฺถ กฺริยํ ธาเรตีติ ธาตุฯ สา ปกติธาตุ, วิกติธาตุ, นามธาตุวเสน ติวิธาฯ
ตตฺถ ภู, หู, คมุ, ปจ อิจฺจาทิ ปกติธาตุ นาม สภาเวน สิทฺธตฺตาฯ
ติติกฺข, ติกิจฺฉ, พุภุกฺข, ชิฆจฺฉอิจฺจาทิ วิกติธาตุ นาม สงฺขตวเสน สิทฺธตฺตาฯ
ปุตฺตีย, ปพฺพตาย อิจฺจาทิ นามธาตุ นาม นามภูตสฺส สโต กฺริยวาจีปจฺจยโยเคน ธาตุฏฺฐาเน ฐิตตฺตาฯ
ปกติธาตุ จ สกมฺมิกา’กมฺมิกวเสน ทุวิธาฯ
ตตฺถยา ธาตุ กมฺมาเปกฺขํ กฺริยํ วทติ, สา สกมฺมิกา นามฯ คามํ คจฺฉติ, โอทนํ ปจติ อิจฺจาทิฯ
ยา กมฺมนิรเปกฺขํ กฺริยํ วทติ, สา อกมฺมิกา นามฯ ภวติ, โหติ, ติฏฺฐติ, เสติ อิจฺจาทิฯ
สกมฺมิกา จ เอกกมฺมิก, ทฺวิกมฺมิกวเสน ทุวิธาฯ