Samstag, 20. August 2016

ปัญหาและเฉลย (วิชาพุทธประวัติ) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๔๓

ปัญหาและเฉลย วิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง พ.. ๒๕๔๓
วันเสาร์ ที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๔๓
---------------------------------------

. ชมพูทวีปในปัจจุบัน ได้แก่ประเทศอะไรบ้าง ?
. อินเดีย – เนปาล - ปากีสถาน - บังคลาเทศ
. อินเดีย - ภูฐาน - อินโดนีเซีย - มาเลเซีย
. อินเดีย - เนปาล - ศรีลังกา - อัฟกานิสถาน
. อินเดีย - เนปาล - จีน – อินโดนีเซีย


. ชนชาติใด อาศัยอยู่ก่อนในชมพูทวีป ?
. ปากีสถาน
. สักกะ
. ศรีลังกา
. มิลักขะ

Donnerstag, 21. Juli 2016

ปัญหาและเฉลย (วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๕๑

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๑
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
....................................................... 
 
. ผู้ไม่รอบคอบทำงานผิดพลาด เพราะขาดธรรมหมวดไหน ?
. ธรรมมีอุปการะมาก
. ธรรมเป็นโลกบาล
. ธรรมอันทำให้งาม
. ธรรมเป็นเครื่องเจริญ

. สติ ควรใช้เมื่อใด ?
. ก่อนทำ พูด คิด
. ขณะทำ พูด คิด
. หลังทำ พูด คิด
. ในกาลทุกเมื่อ

Montag, 11. Juli 2016

ปัญหาและเฉลย (วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๕๐

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๐
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
....................................................... 
. ผู้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีธรรมอะไร ?
. ธรรมมีอุปการะมาก
. ธรรมอันทำให้งาม
. ธรรมเป็นโลกบาล
. ธรรมเป็นเครื่องเจริญ


. การรณรงค์เรื่องเมาไม่ขับ ส่งเสริมให้มีธรรมข้อใด ?
. สติ
. สัมปชัญญะ
. ขันติ
. โสรัจจะ

Samstag, 9. Juli 2016

ปัญหาและเฉลย (วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๔๖

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ -- พฤศจิกายน พ.. ๒๕๔๖
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน) 
.......................................................

๑. ข้อใด เป็นธรรมมีอุปการะมาก ?
ก. หิริ โอตตัปปะ
ข. สติ สัมปชัญญะ
ค. กตัญญู กตเวที
ง. ขันติ โสรัจจะ


. เราควรใช้สติเมื่อใด ?
. ก่อนทำ พูด คิด
. ขณะทำ พูด คิด
. ทำ พูด คิดเสร็จแล้ว
. ข้อ ก. ข้อ ข. ถูก

ปัญหาและเฉลย (วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๔๗

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพุธที่ ๑ ธันวาคมพ. . ๒๕๔๗
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียวแล้วกากบาท (X) ลงในช่อง
ของข้อที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐คะแนน)
....................................................... 
 
. ธรรมข้อใดอุดหนุนมิให้คนทำอะไรผิดพลาด?
. หิริโอตตัปปะ
. ขันติโสรัจจะ
. กตัญญูกตเวที
. สติสัมปชัญญะ


. ข้อใดเป็นความหมายของสัมปชัญญะ?
. ความระลึกได้
. ความรู้ตัว
. ความรอบรู้
. ความรู้จริง

ปัญหาและเฉลย (วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๔๕

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ ที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๔๕
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
....................................................... 
. ธรรมข้อใด ควบคุมมิให้คนทำผิดพลาด ?
. สติ สัมปชัญญะ
. หิริ โอตตัปปะ
. ขันติ โสรัจจะ
. กตัญญู กตเวที

. ธรรมข้อใด มีอุปมาดุจหางเสือเรือ ?
. หิริ
. โอตตัปปะ 
 . สติ
. ขันติ

Freitag, 8. Juli 2016

ปัญหาและเฉลย (วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๔๔


ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ ที่ ๔ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๔๔
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว โดยกากบาทในช่องของข้อ
ที่ต้องการ ลงในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
___________________

. คนที่ทำ พูด ผิดพลาดอยู่เสมอ เพราะขาดธรรมอะไร ?
. ธรรมที่เป็นโลกบาล
. ธรรมที่เป็นรากเหง้าอกุศล
. ธรรมที่มีอุปการะมาก
. ธรรมคือข้อปฏิบัติไม่ผิด

. สติควรใช้เวลาไหน ?
. ขณะทำ ก่อนพูด ก่อนคิด
. ก่อนทำ ก่อนพูด ก่อนคิด
. ก่อนทำ ก่อนพูด ขณะคิด
. ก่อนทำ ก่อนพูด หลังจากคิดแล้ว

Donnerstag, 7. Juli 2016

ปัญหาและเฉลย (วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นตรี ปี ๒๕๔๙

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๔๙
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
-------------------------------
. ธรรมอะไร ทำให้เป็นคนรอบคอบ ?
. สติ สัมปชัญญะ
. หิริ โอตตัปปะ
. ขันติ โสรัจจะ
. วิจารณญาณ


. ขาดธรรมอะไร แม้มีชีวิตอยู่ก็ชื่อว่าตาย ?
. สติ
. สัมปชัญญะ
. หิริ
. โอตตัปปะ

Freitag, 24. Juni 2016

อภิธานปฺปทีปิกา ๓. สามญฺญกณฺฑ


๓.๑. วิเสสฺยาธีนวคฺค
๖๙๑.
วิเสสฺยาธีน สํกิณฺณา-, เนกตฺเถหฺยพฺยเยหิ จ;
สา’งฺโค’ปางฺเคหิ กถฺยนฺเต, กณฺเฑ วคฺคา อิหกฺกมาฯ
๖๙๒.
คุณทพฺพกฺริยาสทฺทา, สิยุํ สพฺเพ วิเสสนา;
วิเสสฺยาธีนภาเวน, วิเสสฺยสมลิงฺคิโนฯ
๖๙๓.
โสภนํ รุจิรํ สาธุ, มนุญฺญํ จารุ สุนฺทรํ;
วคฺคุ มโนรมํ กนฺตํ, หารี มญฺชุ จ เปสลํฯ
๖๙๔.
ภทฺทํ วามญฺจ กลฺยาณํ, มนาปํ ลทฺธกํ สุภํ;
อุตฺตโม ปวโร เชฏฺโฐ, ปมุขา’นุตฺตโร วโรฯ

Sonntag, 19. Juni 2016

ธมฺมปทคาถา (๒๖) พฺราหฺมณวคฺโค


ธมฺมปทคาถาย ฉพฺพีสติโม พฺราหฺมณวคฺโค

๓๘๓. ฉินฺท โสตํ ปรกฺกมฺม, กาเม ปนูท พฺราหฺมณ;
      สงฺขารานํ ขยํ ญตฺวา, อกตญฺญูสิ พฺราหฺมณฯ

๓๘๔. ยทา ทฺวเยสุ ธมฺเมสุ, ปารคู โหติ พฺราหฺมโณ;
      อถสฺส สพฺเพ สํโยคา, อตฺถํ คจฺฉนฺติ ชานโตฯ

๓๘๕. ยสฺส ปารํ อปารํ วา, ปาราปารํ น วิชฺชติ;
      วีตทฺทรํ วิสญฺญุตฺตํ, ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํฯ

๓๘๖. ฌายึ วิรชมาสีนํ, กตกิจฺจํ อนาสวํ;
       อุตฺตมตฺถํ อนุปฺปตฺตํ, ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณํฯ

๓๘๗. ทิวา ตปติ อาทิจฺโจ, รตฺติมาภาติ จนฺทิมา;
       สนฺนทฺโธ ขตฺติโย ตปติ, ฌายี ตปติ พฺราหฺมโณ;
       อถ สพฺพมโหรตฺตึ, พุทฺโธ ตปติ เตชสาฯ

๓๘๘. พาหิตปาโป หิ พฺราหฺมโณ, สมจริยา สมโณติ วุจฺจติ;
       ปพฺพาชยมตฺตโน มลํ, ตสฺมา ปพฺพชิโตติ วุจฺจติฯ

Samstag, 18. Juni 2016

ธมฺมปทคาถา (๒๕) ภิกฺขุวคฺโค


      ธมฺมปทคาถาย ปญฺจวีสติโม ภิกฺขุวคฺโค

๓๖๐. จกฺขุนา สํวโร สาธุ, สาธุ โสเตน สํวโร;
         ฆาเนน สํวโร สาธุ, สาธุ ชิวฺหาย สํวโรฯ

๓๖๑. กาเยน สํวโร สาธุ, สาธุ วาจาย สํวโร;
        มนสา สํวโร สาธุ, สาธุ สพฺพตฺถ สํวโร;
        สพฺพตฺถ สํวุโต ภิกฺขุ, สพฺพทุกฺขา ปมุจฺจติฯ

๓๖๒. หตฺถสญฺญโต ปาทสญฺญโต, วาจาย สญฺญโต สญฺญตตฺตโม;
        อชฺฌตฺตรโต สมาหิโต, เอโก สนฺตุสิโต ตมาหุ ภิกฺขุฯ

        (หตฺถสํยโต ปาทสํยโต, วาจาสํยโต สํยตุตฺตโม;
         อชฺชตฺตรโต สมาหิโต, เอโก สนฺตุสิโต ตมาหุ ภิกฺขุํฯ : ฉัฏฐสังคายนา)

๓๖๓. โย มุขสญฺญโต ภิกฺขุ, มนฺตภาณี อนุทฺธโต;
         อตฺถํ ธมฺมญฺจ ทีเปติ, มธุรํ ตสฺส ภาสิตํฯ

๓๖๔. ธมฺมาราโม ธมฺมรโต, ธมฺมํ อนุวิจินฺตยํ;
        ธมฺมํ อนุสฺสรํ ภิกฺขุ, สทฺธมฺมา น ปริหายติฯ

Freitag, 17. Juni 2016

ธมฺมปทคาถา (๒๔) ตณฺหาวคฺโค


      ธมฺมปทคาถาย จตุวีสติโม ตณฺหาวคฺโค


๓๓๔. มนุชสฺส ปมตฺตจาริโน, ตณฺหา วฑฺฒติ มาลุวา วิย;
      โส ปลวตี หุราหุรํ, ผลมิจฺฉํว วนสฺมึ วานโรฯ

๓๓๕. ยํ เอสา สหตี ชมฺมี, ตณฺหา โลเก วิสตฺติกา;
      โสกา ตสฺส ปวฑฺฒนฺติ, อภิวฑฺฒํว พีรณํฯ

๓๓๖. โย เจ ตํ สหตี ชมฺมึ, ตณฺหํ โลเก ทุรจฺจยํ;
      โสกา ตมฺหา ปปตนฺติ, อุทพินฺทุว โปกฺขราฯ

๓๓๗. ตํ โว วทามิ ภทฺทํ โว, ยาวนฺเตตฺถ สมาคตา;
       ตณฺหาย มูลํ ขณถ, อุสีรตฺโถว พีรณํ;
       มา โว นฬํว โสโตว, มาโร ภญฺชิ ปุนปฺปุนํฯ

๓๓๘. ยถาปิ มูเล อนุปทฺทเว ทฬฺเห, ฉินฺโนปิ รุกฺโข ปุนเรว รูหติ;
       เอวมฺปิ ตณฺหานุสเย อนูหเต, นิพฺพตฺตติ ทุกฺขมิทํ ปุนปฺปุนํฯ

๓๓๙. ยสฺส ฉตฺตึสตี โสตา, มนาปสฺสวนา ภุสา;
      วาหา วหนฺติ ทุทฺทิฏฺฐึ, สงฺกปฺปา ราคนิสฺสิตาฯ

Donnerstag, 16. Juni 2016

ธมฺมปทคาถา (๒๓) นาควคฺโค


      ธมฺมปทคาถาย เตวีสติโม นาควคฺโค

๓๒๐. อหํ นาโคว สงฺคาเม, จาปาโต ปติตํ สรํ;
      อติวากฺยํ ติติกฺขิสฺสํ, ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโนฯ

๓๒๑. ทนฺตํ นยนฺติ สมิตึ, ทนฺตํ ราชาภิรูหติ;
       ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ, โยติวากฺยํ ติติกฺขติฯ

๓๒๒. วรมสฺสตรา ทนฺตา, อาชานียา จ สินฺธวา;
       กุญฺชรา จ มหานาคา, อตฺตทนฺโต ตโต วรํฯ

๓๒๓. น หิ เอเตหิ ยาเนหิ, คจฺเฉยฺย อคตํ ทิสํ;
       ยถาตฺตนา สุทนฺเตน, ทนฺโต ทนฺเตน คจฺฉติฯ

๓๒๔. ธนปาลโก นาม กุญฺชโร, กฏุกปฺปเภทโน ทุนฺนิวารโย;
      พทฺโธ กพลํ น ภุญฺชติ, สุมรติ นาควนสฺส กุญฺชโรฯ

๓๒๕. มิทฺธี ยทา โหติ มหคฺฆโส จ, นิทฺทายิตา สมฺปริวตฺตสายี;
       มหาวราโหว นิวาปปุฏฺโฐ, ปุนปฺปุนํ คพฺภมุเปติ มนฺโทฯ

Mittwoch, 15. Juni 2016

ธมฺมปทคาถา (๒๒) นิรยวคฺโค


      ธมฺมปทคาถาย ทฺวาวีสติโม นิรยวคฺโค

๓๐๖. อภูตวาที นิรยํ อุเปติ, โย วาปิ กตฺวา น กโรมีติ จาห;
      อุโภปิ เต เปจฺจ สมา ภวนฺติ, นิหีนกมฺมา มนุชา ปรตฺถฯ

๓๐๗. กาสาวกณฺฐา พหโว, ปาปธมฺมา อสญฺญตา;
       ปาปา ปาเปหิ กมฺเมหิ, นิรยนฺเต อุปปชฺชเรฯ

๓๐๘. เสยฺโย อโยคุโฬ ภุตฺโต, ตตฺโต อคฺคิสิขูปโม;
      ยญฺเจ ภุญฺเชยฺย ทุสฺสีโล, รฏฺฐปิณฺฑํ อสญฺญโตฯ

๓๐๙. จตฺตาริ ฐานานิ นโร ปมตฺโต, อาปชฺชตี ปรทารูปเสวี;
       อปุญฺญลาภํ น นิกามเสยฺยํ, นินฺทํ ตติยํ นิรยํ จตุตฺถํฯ

๓๑๐. อปุญฺญลาโภ จ คตี จ ปาปิกา, ภีตสฺส ภีตาย รตี จ โถกิกา;
      ราชา จ ทณฺฑํ ครุกํ ปเณติ, ตสฺมา นโร ปรทารํ น เสเวฯ

๓๑๑. กุโส ยถา ทุคฺคหิโต, หตฺถเมวานุกนฺตติ;
      สามญฺญํ ทุปฺปรามฏฺฐํ, นิรยายูปกฑฺฒติฯ