Mittwoch, 16. Januar 2019

ทักษะการใช้ภาษาบาลี 3 - โครงสร้างลักษณะต่างๆ ของบาลี

ทักษะการใช้ภาษาบาลี 3 - โครงสร้างลักษณะต่างๆ ของบาลี  
โดยพระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ (อ. ต่วน)  
ผู้เชี่ยวชาญบาฬีใหญ่สายวัดท่ามะโอ 
(ที่มาข้อมูลวัดจากแดง สมุทรปราการ http://www.watchakdaeng.com/ )


01 วิธีการแปล ตุํปัจจัย

02 วิธีการแปล วิกติกัตตา

Dienstag, 15. Januar 2019

ทักษะการใช้ภาษาบาลี 1 - หลักการแปลขั้นพื้นฐาน

หากต้องการดาวน์โหลดหนังสือกรุณาคลิกที่ภาพ 

ทักษะการใช้ภาษาบาลี 1 - หลักการแปลขั้นพื้นฐาน
  โดยพระมหาธิติพงศ์ อุตฺตมปญฺโญ (อ. ต่วน) 
ผู้เชี่ยวชาญบาฬีใหญ่สายวัดท่ามะโอ 
(ที่มาข้อมูลวัดจากแดง สมุทรปราการ http://www.watchakdaeng.com/ )

00 บทนำ ข้อความทั่วไป

01 หลักการแปลขั้นพื้นฐาน


Freitag, 21. Dezember 2018

ปัญหาและเฉย(สัมพันธ์ไทย) ประโยค ป.ธ. ๓ ปี 2555


ประโยค ป..
สัมพันธ์ไทย
สอบ วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

______________________

เอกสฺมึ หิ สมเย ทหเร จ สามเณเร จ อตฺตโน ธมฺมาจริยานํเยว จีวรรชนาทีนิ เวยฺยาวจฺจานิ กโรนฺเต ทิสฺวา เอกจฺเจ เถรา จินฺตยึสุ มยํปิ พฺยญฺชนสมเย กุสลา อมฺหากเมว กิญฺจิ นตฺถิ ยนฺนูน มยํ สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา เอวํ วเทยฺยาม มยํ พฺยญฺชนสมเย กุสลา อญฺเญสํ สนฺติเก ธมฺมํ อุคฺคณฺหิตฺวาปิ อิเมสํ สนฺติเก อโสเธตฺวา มา สชฺฌายิตฺถาติ ทหรสามเณเร อาณาเปถาติ เอวํ หิ อมฺหากํ ลาภสกฺกาโร วฑฺฒิสฺสตีติ ฯ เต สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา ตถา วทึสุ ฯ สตฺถา เตสํ วจนํ สุตฺวา อิมสฺมึ สาสเน ปเวณิวเสเนว เอวํ วตฺตุํ ลภติ อิเม ปน ลาภสกฺการนิสฺสิตาติ ญตฺวา อหํ ตุมฺเห วากฺกรณมตฺเตน สาธุรูปาติ น วทามิ ยสฺส ปเนเต อิสฺสาทโย ธมฺมา อรหตฺตมคฺเคน สมุจฺฉินฺนา เอโสเอว สาธุรูโปติ วตฺวา อิมา คาถา อภาสิ
น วากฺกรณมตฺเตน วณฺณโปกฺขรตาย วา
สาธุรูโป นโร โหติ อิสฺสุกี มจฺฉรี สโฐ
ยสฺส เจตํ สมุจฺฉินฺนํ มูลฆจฺฉํ สมูหตํ
ส วนฺตโทโส เมธาวี สาธุรูโปติ วุจฺจตีติ ฯ

ให้เวลา ๔ ชั่วโมง กับ ๑๕ นาที.

Donnerstag, 20. Dezember 2018

ปัญหาและเฉลย(แปลมคธเป็นไทย) ประโยค ป.ธ. ๓ ปี 2555



ประโยค ป..
แปล มคธเป็นไทย
สอบ วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
. อถสฺส (ปุณฺณสฺส) ปาโต ว กสิตฏฺฐานํ ปํสุจุณฺณํ อุปาทาย สพฺพํ รตฺตสุวณฺณํ กณิการปุปฺผราสิ วิย โสภมานํ อฏฺฐาสิ ฯ โส ปพุทฺโธ โอโลเกตฺวา ภริยมาห ภทฺเท เอตํ กสิตฏฺฐานํ สพฺพํ มม สุวณฺณํ หุตฺวา ปญฺญายติ กินฺนุ โข เม อติอุสฺสูเร ลทฺธภตฺตตาย อกฺขีนิ ภมนฺตีติ ฯ (สาปิ ปุณฺณสฺส ภริยา) มยฺหํปิ เอวเมว ปญฺญายตีติ ฯ โส อุฏฺฐาย ตตฺถ คนฺตฺวา เอกํ ปิณฺฑํ คเหตฺวา นงฺคลสีเส ปหริตฺวา สุวณฺณภาวํ ญตฺวา อโห อยฺยสฺส ธมฺมเสนาปติสฺส ทินฺนทาเนน อชฺเชว วิปาโก ทสฺสิโต น โข ปน สกฺกา เอตฺตกํ ธนํ ปฏิจฺฉาเทตฺวา ปริภุญฺชิตุนฺติ ภริยาย
อาภตํ ภตฺตปาตึ สุวณฺณสฺส ปูเรตฺวา ราชกุลํ คนฺตฺวา รญฺญา กโตกาโส ปวิสิตฺวา ราชานํ อภิวาเทตฺวา กึ ตาตาติ วุตฺเต เทว อชฺช มยา กสิตฏฺฐานํ สพฺพํ สุวณฺณภริตเมว หุตฺวา ฐิตํ สุวณฺณํ อาหราเปตุํ วฏฺฏตีติ ฯ โกสิ ตฺวนฺติ ฯ ปุณฺโณ นามาหนฺติ ฯ กึ ปน เต อชฺช กตนฺติ ฯ
ธมฺมเสนาปติสฺส เม อชฺช ปาโต ว ทนฺตกฏฺฐญฺจ มุโขทกญฺจ ทินฺนํ ภริยายปิ เม มยฺหํ อาหรณภตฺตํ ตสฺเสว ทินฺนนฺติ ฯ ตํ สุตฺวา ราชา อชฺเชว กิร โภ ธมฺมเสนาปติสฺส ทินฺนทาเนน วิปาโก ทสฺสิโตติ วตฺวา ตาต กึ กโรมีติ ปุจฺฉิ ฯ พหูนิ สกฏสหสฺสานิ ปหิณิตฺวา สุวณฺณํ อาหรา
เปถาติ ฯ ราชา สกฏานิ ปหิณิ ฯ ราชปุริเสสุ รญฺโญ สนฺตกนฺติ คณฺหนฺเตสุ คหิตคฺคหิตํ มตฺติกา ว โหติ ฯ เต คนฺตฺวา รญฺโญ อาโรเจตฺวา ตุมฺเหหิ กินฺติ วตฺวา คหิตนฺติ ปุฏฺฐา ตุมฺหากํ สนฺตกนฺติ อาหํสุ ฯ น มยฺหํ (ตาตา) สนฺตกํ คจฺฉถ ปุณฺณสฺส สนฺตกนฺติ วตฺวา คณฺหถาติ ฯ เต ตถา กรึสุ ฯ คหิตคฺคหิตํ สุวณฺณเมว อโหสิ ฯ

Mittwoch, 19. Dezember 2018

ปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก ปี 2551



ปัญหาและเฉลยวิชากรรมบถ (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๑
เวลา ๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)

________________________

. ชีวิตสรรพสัตว์จะสุขหรือทุกข์ มีอะไรเป็นเครื่องกำหนด ?
. เทวดา . กรรม
. มาร . พรหม

. วิชากรรมบถ เน้นหลักคำสอนว่าด้วยเรื่องอะไร ?
. อำนาจแห่งวิบากกรรม . อำนาจแห่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์
. อำนาจแห่งดาวเคราะห์ . อำนาจจิตอันประภัสสร

. กรรมบถจัดเป็นศีล แต่ไม่เหมือนศีล ๕ เพราะไม่มีสิกขาบทใด ?
. ข้อ ๑ . ข้อ ๒
. ข้อ ๔ . ข้อ ๕

ปัญหาและเฉลย(วิชาพุทธานุพุทธประวัติ) ธรรมศึกษาชั้นเอก ปี 2551


ปัญหาและเฉลยวิชาพุทธานุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๑
เวลา ๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)


. พระพุทธเจ้าเสด็จอุบัติขึ้นในโลก เพื่ออะไร ?
. เป็นศาสดาสร้างสันติ . เป็นศาสดาคุ้มครองโลก
. เป็นศาสดาสร้างโลก . เป็นศาสดาสอนเวไนยสัตว์

. ข้อใด แสดงความเป็นผู้มีมานะถือตัวของชาวชมพูทวีป ?
. ถือว่าโลกเที่ยง . ถือว่าโลกมีที่สุด
. ถือชั้นวรรณะ . ถือว่าตายแล้วเกิด

. พระโอรสของพระเจ้าโอกกากราช เป็นผู้สร้างเมืองใด ?
. เทวทหะ . กบิลพัสดุ์
. ราชคฤห์ . สาวัตถี

Montag, 17. Dezember 2018

ปัญหาและเฉลย(วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นเอก ปี 2551


ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๑
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
____________________________________

. พระพุทธเจ้าตรัสเรียกให้มาดูโลก เพื่อประโยชน์อะไร ?
. เพื่อคลายเครียด . เพื่อคลายทุกข์
. เพื่อเพลิดเพลิน . เพื่อให้รู้ความจริง

. คำว่า พวกคนเขลา หมายถึงบุคคลข้อใด ?
. คนอันธพาล . คนสมองไม่ดี
. คนขาดสติ . คนผู้ไร้พิจารณ์

. ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ คำว่าผู้รู้ ตรงกับข้อใด ?
. ผู้รู้โลกตามเป็นจริง . ผู้รู้สังคมโลก
. ผู้รู้โลกธรรม . ผู้รู้คดีโลกคดีธรรม

Sonntag, 16. Dezember 2018

ปัญหาและเฉลย(วิชาอุโบสถศีล (วินัย)) ธรรมศึกษาชั้นโท ปี 2551


ปัญหาและเฉลยวิชาอุโบสถศีล (วินัย) ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๑
เวลา ๑๕.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
___________________________________________

. กุศลส่วนพิเศษที่คฤหัสถ์ควรบำเพ็ญให้ยิ่งกว่าศีล ๕ คืออะไร ?
. ถวายสังฆทาน . ฟังเทศน์
. ถืออุโบสถ . นั่งสมาธิ

. การรักษาศีล จัดเข้าในศาสนพิธีประเภทใด ?
. ทานพิธี . บุญพิธี
. กุศลพิธี . ปกิณกะ

. ข้อใดเป็นความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการักษาศีล ?
. ได้พักการงาน . ได้ทำบุญกุศล
. ได้ชำระจิตใจ . ได้ชำระบาป

Samstag, 15. Dezember 2018

ปัญหาและเฉลย(วิชาอนุพุทธประวัติ) ธรรมศึกษาชั้นโท ปี 2551


ปัญหาและเฉลยวิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๑
เวลา ๑๔.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
__________________________________________

. ผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า ตรงกับข้อใด ?
. พระปัจเจกพุทธะ . พระโสดาบัน
. พระอนุพุทธะ . พระอนาคามี

. อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ มีความหมายว่าอย่างไร ?
. โกณฑัญญะบรรลุแล้วหน่อ . โกณฑัญญะได้รู้แล้วหนอ
. โกณฑัญญะเห็นแล้วหนอ . โกณฑัญญะปลงแล้วหนอ

. พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นรัตตัญญู ตรงกับข้อใด ?
. รู้ธรรมก่อนใคร . บวชก่อนใคร
. มีประสบการณ์มาก . รู้เรื่องราวมาก

ปัญหาและเฉลย(วิชาธรรม) ธรรมศึกษาชั้นโท ปี 2551


ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.. ๒๕๕๑
เวลา ๑๓.๐๐ น.
คำสั่ง : จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
__________________________________

. ข้อใดเป็นความหมายของคำว่า สมถะ ?
. อุบายเรืองปัญญา . อุบายสงบกาย
. อุบายสงบใจ . อุบายสงบวาจา

. จะรู้แจ้งสรรพสิ่งตามเป็นจริง ต้องเจริญกัมมัฏฐานอะไร ?
. อนุสสติกัมมัฏฐาน . สมถกัมมัฏฐาน
. วิปัสสนากัมมัฏฐาน . อสุภกัมมัฏฐาน

Donnerstag, 13. Dezember 2018

ปัญหาและเฉลย(บาลีไวยากรณ์) ประโยค ป.ธ. ๓ ปี 2555


ประโยค ป..
ปัญหา บาลีไวยากรณ์
สอบ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
__________________

. เอ กับ โอ สระ ๒ ตัวนี้ ว่าโดยฐานต่างจากสระอื่นอย่างไร ฯ และ เพราะเหตุไร จึงจัดเป็นสังยุตตสระด้วย ฯ

. ในสนธิกิริโยปกรณ์ วิการ กับ ทีฆะ มีลักษณะต่างกันอย่างไร ฯ ธมฺมมิธญฺาย เป็นสนธิอะไร ฯ ตัดและต่ออย่างไร ฯ

. จงตอบคำถามต่อไปนี้
. นามเช่นไร จัดเป็นนามนาม ฯ
. ภิกฺขเว มีวิธีทำตัวอย่างไร ฯ
. อสีติ เป็นวจนะ และลิงค์อะไร ฯ
. ต ศัพท์ ในอิตถีลิงค์ เฉพาะจตุตถีวิภัตติ มีรูปแจกอย่างไร ฯ
. รโห แปลว่าอย่างไร ฯ เป็นนิบาตบอกอะไร ฯ

Mittwoch, 12. Dezember 2018

ปัญหาและเฉลย(บาลีไวยากรณ์) ประโยค ๑-๒ ปี 2555


ประโยค ๑-
ปัญหา บาลีไวยากรณ์
สอบ วันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
____________________

. จงเติมคำที่ถูกต้องลงในช่องว่าง ต่อไปนี้
พยัญชนะที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕ ในวรรคทั้ง ๕ คือ.........................................................
....................,  และ ย........................, ๒๑ ตัวนี้ เป็นโฆสะ ฯ

. ในพยัญชนะสนธิ สัญโญโค มีเท่าไร ฯ อะไรบ้าง ฯ อิธปฺปโมทติ จัดเป็น อย่างไหน ฯ

. วิเสสนสัพพนาม แบ่งเป็นเท่าไร ฯ อะไรบ้าง ฯ ที่แบ่งแล้วนั้น ชนิดไหน มีศัพท์อะไรบ้าง ฯ


. ในอาขยาตนั้น ท่านแบ่งกาลที่เป็นประธาน และแบ่งกาลให้ละเอียดไว้ อย่างไรบ้าง ฯ

. ศัพท์เช่นไร ชื่อว่า กรณสาธนะ ฯ และกรณสาธนะนี้ ท่านบัญญัติให้แปลว่าอย่างไร ฯ

Montag, 3. Dezember 2018

ธัมมปทปาฬิ-แปล ๒๖. พราหมณวรรค



๒๖. พฺราหฺมณวคฺโค
คาถาธรรมบท พราหมณวรรคที่ ๒๖

๓๘๓.
ฉินฺท โสตํ ปรกฺกมฺม, กาเม ปนูท พฺราหฺมณ;

สงฺขารานํ ขยํ ญตฺวา, อกตญฺญูสิ พฺราหฺมณฯ

ดูกรพราหมณ์ ท่านจงพยายามตัดกระแสตัณหาเสีย จงบรรเทากามทั้งหลายเสีย 
ดูกรพราหมณ์ ท่านรู้ความสิ้นไปแห่งสังขารทั้งหลายแล้ว จะเป็นผู้รู้นิพพานอันปัจจัยอะไรๆ ปรุงแต่งไม่ได้. (๒๖:)

๓๘๔.
ยทา ทฺวเยสุ ธมฺเมสุ, ปารคู โหติ พฺราหฺมโณ;

อถสฺส สพฺเพ สํโยคา, อตฺถํ คจฺฉนฺติ ชานโตฯ

เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งในธรรมทั้ง ๒ ประการ เมื่อนั้น กิเลสเป็นเครื่องประกอบทั้งปวงของพราหมณ์นั้นผู้รู้แจ้ง ย่อมถึงความสาบสูญไป. (๒๖:)