๔. กาฬยกฺขินีวตฺถุ(๔)
๕.
น หิ เวเรน เวรานิ, สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ;
อเวเรน จ สมฺมนฺติ, เอส ธมฺโม สนนฺตโนฯ
„ในกาลไหนๆ เวรในโลกนี้ย่อมไม่ระงับเพราะเวรเลย,
แต่ย่อมระงับเพราะความไม่จองเวร, ธรรมนี้เป็นของเก่า“.
๔. กาฬยกฺขินีวตฺถุ(๔)
๕.
น หิ เวเรน เวรานิ, สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ;
อเวเรน จ สมฺมนฺติ, เอส ธมฺโม สนนฺตโนฯ
„ในกาลไหนๆ เวรในโลกนี้ย่อมไม่ระงับเพราะเวรเลย,
แต่ย่อมระงับเพราะความไม่จองเวร, ธรรมนี้เป็นของเก่า“.
๒๘๐. คุณสมบัติที่ผู้นำพึงมี
สุตารกฺโข อภิโยโค, กุลารกฺโข วตฺตํ ภเว;
วิชฺชา หิ กุลปุตฺตสฺส, นายกสฺสาปมาทโกฯ
ผู้นำพึงรักการเรียนรู้ ขยั่นหมั่นเพียร
รักษาประเพณี มีระเบียบวินัย
จริงอยู่ เป็นกุลบุตรต้องมีวิชา
เป็นผู้นำต้องมีความไม่ประมาท.
(กวิทัปปณนีติ ๒๘๐)
..
๒๗๙. ผู้นำมากก็ช่วยไม่ได้
โนทยาห วินาสาย, พหุนายกตา ภุสํ;
มิลายนฺติ วินสฺสนฺติ, ปทฺมานฺยกฺเกหิ สตฺตหิฯ
เมื่อความเอ็นดูถูกทำลายเสียแล้ว
ถึงมีผู้นำหลายคนก็ช่วยไม่ได้เลย
เหมือนดอกบัวไม่เหี่ยวแห้งแต่
ย่อมพินาศด้วยพระอาทิตย์เจ็ดดวง.
(มหารหนีติ ๑๗๙, กวิทัปปณนีติ ๒๗๙)
..
๓. ติสฺสตฺเถรวตฺถุ (๓)
๓.
อกฺโกจฺฉิ มํ อวธิ มํ, อชินิ [1] มํ อหาสิ เม;
เย จ ตํ อุปนยฺหนฺติ, เวรํ เตสํ น สมฺมติฯ
„ก็ชนเหล่าใดเข้าไปผูกเวรไว้ว่า คนโน้นด่าเรา คนโน้นได้ตีเรา คนโน้นได้ชนะเรา คน
โน้นได้ลักสิ่งของๆ เรา ดังนี้ เวรของชนเหล่านั้นย่อมไม่ระงับ“.
๒๗๗-๘. ผู้นำไม่ฉลาดชาติไม่พัฒนา
ควํ เจ ตรมานานํ, อุชุํ คจฺฉติ ปุงฺคโว;
สพฺพา คาวี อุชุํ ยนฺติ, เนตฺเต อุชุํ คเต สติฯ
เอวเมว มนุสฺเสสุ, โย โหติ เสฏฺฐสมฺมโต;
โส สเจ ธมฺมํ จรติ, ปเคว อิตรา ปชาฯ
ถ้าเมื่อโคทั้งหลาย ว่ายข้ามแม่น้ำไป
โคหัวหน้าฝูงว่ายข้ามตรง
เมื่อมีโคผู้นำฝูงว่ายข้ามตรงอย่างนั้น
โคทั้งหมดก็ย่อมว่ายข้ามตรงไปตามกัน.
ในหมู่มนุษย์ทั้งหลายก็เหมือนกัน
ผู้ใดได้รับสมมติแต่งตั้งให้เป็นใหญ่
ถ้าผู้นั้น ประพฤติเป็นธรรม
ประชาชนนอกนี้ก็ย่อมประพฤติเป็นธรรมไปตามโดยแท้
๕. นายกกณฺฑ
๒๗๖. ผู้นำมากลำบากนาน
อนายกา วินสฺสนฺติ, นสฺสนฺติ พหุนายกา;
ถีนายกา วินสฺสนฺติ, นสฺสนฺติ สุสุนายกาฯ
บ้านเมืองไม่มีผู้นำ ก็ฉิบหาย,
บ้านเมืองมีผู้นำหลายคน ก็ฉิบหาย,
บ้านเมืองมีผู้นำเป็นหญิง ก็ฉิบหาย,
บ้านเมืองมีผู้นำเด็กเกินไป ก็ฉิบหาย.
(กวิทปฺปณนีติ ๒๗๖, มหารหนีติ ๑๗๗, ธมฺมนีติ ๒๘๖, นรทกฺขทีปนี ๒๖๓)
๒๗๕. ผู้นำฉลาดรัฐเจริญ
มหารุกฺขูปมํ รฏฺฐํ, ธมฺเมน โย ปสาสติ;
รสญฺจสฺส วิชานาติ, รฏฺฐญฺจสฺส น นสฺสติฯ
ประเทศเปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่
หากพระราชาปกครองโดยธรรม
ทรงย่อมรู้รสแห่งการปกครองประเทศนั้น
แม้ประเทศนั้นพลอยเจริญรุ่งเรืองไปด้วย.
(กวิทัปปณนีติ ๒๗๕ ธรรมนีติ ๒๗๗, มหารหนีติ ๑๖๙, ขุ. ชา. ๒๘/๖๕ มหาโพธิชาดก)
..
๒๗๔. ต้นไม้ใหญ่มีผลสุก
มหารุกฺขสฺส ผลิโน, ปกฺกํ ฉินฺทติ โย ผลํ;
รสญฺจสฺส วิชานาติ, พีชญฺจสฺส น นสฺสติฯ
“เมื่อต้นไม้ใหญ่มีผล
ผู้ใดเก็บเอาผลสุกๆ มากิน
ผู้นั้นย่อมรู้รสแห่งผลไม้นั้น
และพืชพันธุ์แห่งตนไม้นั้นก็ไม่พินาศ.“
(กวิทปฺปณนีติ ๒๗๔, ขุ. ชา. ๒๘/๖๕)
..
๒๗๓. เปรียบรัฐดุจมหารุกโข
มหารุกฺขูปมํ รฏฺฐํ, อธเมฺมน ปสาสติ;
รสญฺจสฺส น ชานาติ, รฏฺฐญฺจสฺส วินสฺสติฯ
“รัฐเปรียบเหมือนต้นไม้ใหญ่
พระราชาใดปกครองโดยไม่เป็นธรรม
พระราชานั้นย่อมไม่รู้จักรสแห่งรัฐนั้น
รัฐของพระราชานั้นก็ย่อมพินาศ.”
(กวิทปฺปณนีติ ๒๗๓, ธมฺมนีติ ๒๗๕, ขุ. ชา. ๒๘/๖๕ )
๒๗๒. เปรียบรัฐเหมือนต้นไม้ใหญ
มหารุกฺขสฺส ผลิโน, อามํ ฉินฺทติ โย ผลํ;
รสญฺจสฺส น ชานาติ, พีชญฺจสฺส วินสฺสติฯ
“เมื่อต้นไม้ใหญ่มีผล
ผู้ใดเก็บผลดิบมากิน
ผู้นั้นย่อมไม่รู้รสแห่งผลไม้นั้น
ทั้งพืชพันธุ์แห่งตนไม้นั้นก็ย่อมพินาศ.“
(กวิทปฺปณนีติ ๒๗๒, มหารหนีติ ๑๖๖, ธมฺมนีติ ๒๗๔, ขุ. ชา. ๒๘/๖๕)
๒.
มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา, มโนเสฏฺฐา มโนมยา;
มนสา เจ ปสนฺเนน, ภาสติ วา กโรติ วา;
ตโต นํ สุขมนฺเวติ, ฉายาว อนปายินี [1]ฯ
ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจประเสริฐที่สุด สำเร็จแล้วแต่ใจ,
ถ้าบุคคลมีใจผ่องใส กล่าวอยู่ก็ตามทำอยู่ก็ตาม,
สุขย่อมไปตามบุคคลนั้นเพราะสุจริต ๓ อย่าง,
เหมือนเงามีปรกติไปตาม ฉะนั้น.
—————
1) [อนุปายินี (ก.)]
๒๗๑. หลักการพัฒนาประเทศ
เตสุ ทุพฺพลชาเตสุ, รฏฺฐมฺปิ ทุพฺพลํ สิยา;
ตสฺมา สรฏฺฐํ วิปุลํ, ธารเย รฏฺฐภารวาฯ
“หากชนทั้ง ๔ เหล่านัน เป็นชนส่วนน้อยของประเทศ,
แม้ประเทศ ก็พลอยอ่อนแอ หล้าหลังไม่พัตนา
เพราะฉะนั้น ผู้บริหารประเทศ ควรพัฒนาคน
พร้อมบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าคู่กันไป.”
(กวิทปฺปณนีติ ๒๗๑, มหารหนีติ ๑๖๕, ธมฺมนีติ ๒๗๓)